ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า
Electrical control and Programming
2
ตอนที่ 2 การควบคุมแบบรีเลย์
3
จุดประสงค์การสอน 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบควบคุม แบบรีเลย์ 2. สามารถอ่านแบบวงจรควบคุมแบบรีเลย์ 3. เขียนโปรแกรมควบคุมมอเตอร์เบื้องต้นแบบใช้ วงจรรีเลย์ได้
4
วงจรการควบคุมแบบรีเลย์
ระบบที่ใช้แผงวงจรรีเลย์ อาศัยรีเลย์เป็น สวิทช์ในการทำงาน โดยหลักการใช้อำนาจของ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ช่วยในการตัดต่อวงจรที่ ควบคุมการทำงาน โดยการสร้างเงื่อนไขการควบคุม ไว้ล่วงหน้า
5
รีเลย์ (Relay)
6
รีเลย์ (Relay) รีเลย์ คือ สวิทช์ที่ทำงานโดยอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าช่วยในการตัด-ต่อวงจรซึ่งการตัดต่อวงจรส่วนใหญ่เป็นวงจรกำลังขนาดเล็ก โดยขึ้นอยู่กับ ชนิดและการทนกระแสของรีเลย์
7
รีเลย์ (Relay)
8
รีเลย์ (Relay)
9
คอนแทคเตอร์ (Contactor)
10
คอนแทคเตอร์ (Contactor
11
คอนแทคเตอร์ (Contactor
ลักษณะของคอนแทคเตอร์คล้ายกับรีเลย์ แต่มีขนาดใหญ่กว่า ทนกระแสได้มากกว่า หากคอนแทคเตอร์ชนิดทนกระแสได้สูงจะมีอุปกรณ์ดับอาร์คคอนแทคเพิ่มขึ้น
12
รีเลย์หน่วงเวลา (Timer Relay)
13
รีเลย์หน่วงเวลา (Timer Relay)
14
สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch)
สัญลักษณ์ อุปกรณ์
15
สวิทช์ปุ่มกด (Push button switch)
16
โอเวอร์โหลด (Thermal overload relay)
17
โอเวอร์โหลด (Thermal overload relay)
โอเวอร์โหลด รีเลย์ที่ใช้งานกันนิยมใช้ แบบไบเมลทอล โดยอาศัยหลักการทำงานโค้งงอของไบเมลทอลที่ร้อนเนื่องจากมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมากกว่าค่าที่กำหนด
18
ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch)
19
ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch
20
ลิมิตสวิทช์ (Limit Switch
21
Toggle Switch (สวิทช์โยก)
22
Toggle Switch (สวิทช์โยก)
เป็นสวิทช์ที่ทำงานโดยการโยก และเกิดการล็อคหน้าสัมผัสทางกล ให้มีสถานการณ์ทำงานค้างไว้ และเมื่อต้องการเปลี่ยนสภาวะการทำงานก็ทำการโยกสวิทช์อีกครั้งหนึ่ง
23
อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์
แบบกระแสโหลดเกิน (Overload Current) เป็นค่าของกระแสขณะ ที่มีค่าสูงกว่าค่ากระแสปกติ (Rated Current) ที่กำหนดไว้บนป้าย (Name Plate)
24
อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์
แบบกระแสลัดวงจร (Short Current Circuit) เป็นค่ากระแสสูงสุดที่ไหลผ่านในสายไปยังจุดที่เกิดการลัดวงจร อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินได้แก่ ปลั๊กฟิวส์ (Plug Fuse)
25
แบบควบคุมมอเตอร์ด้วยแผงวงจรรีเลย์
แบบวงจรสายเดียว แบบวงจรแสดงการทำงาน แบบวงจรแสดงงานจริง แบบวงจรประกอบการติดตั้ง
26
มอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส
27
วงจรกำลังมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟสแบบสตาร์-เดลต้า
วงจรกำลังมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟสแบบสตาร์-เดลต้า
29
แบบวงจรสายเดียว Single line diagram
30
แบบวงจรแสดงการทำงาน Schematic diagram
32
แบบวงจรแสดงงานจริง Working diagram or wiring diagram
34
วงจรกำลัง มอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส
35
ตัวอย่างวงจรการควบคุมมอเตอร์
วงจรเปิด-ปิด วงจรทำงานชั่วขณะ วงจรรักษาสภาพ วงจรหน่วงเวลา
36
วงจรควบคุม การทำงานเปิด-ปิด On-Off Circuit
37
วงจรทำงานชั่วขณะ Instantaneous Circuit
38
วงจรรักษาสภาพ Interlock Circuit
39
วงจรหน่วงเวลา Time Delay Circuit
40
วงจรป้องกันการทำงานพร้อมกัน (Interlock Circuit)
41
ตัวอย่างการใช้งาน และการเขียนโปรแกรม
42
วงจร Relay Normally Closed (NC) Normally Open (NO) Output ( )
43
EX.1 วงจรทำงานชั่วขณะ แลดเดอร์ไดอะแกรม กำหนดให้ S1 = I0.1 S2 = I0.2
K1 = Q0.1 แลดเดอร์ไดอะแกรม I0.1 I0.2 Q0.1 I . 2 I . 1 Q . 1
44
I1 I2 Q1 ( ) Q1 Q1 Q2 ( ) แลดเดอร์ไดอะแกรม
45
เรื่อง โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.