ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
องค์กรอัจฉริยะ ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
2
แนวคิดไปสู่องค์กรอัจฉริยะ
แนวคิดไปสู่องค์กรอัจฉริยะ เริ่มจากการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) นำไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization : LO) มุ่งสู่องค์อัจฉริยะ (Intelligence Organization)
3
Business Intelligence
Business Intelligence
5
กรณีศึกษา KM มจพ. : กองบริหารและจัดการทรัพยากรมนุษย์
การจัดการความรู้ข้อมูลสารสนเทศสำหรับอาจารย์และเจ้าหน้าที่ของมหาวิทยาลัย อาจารย์และเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยจะต้องรู้ กฎระเบียบ ข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัยในเรื่องอะไรบ้าง ขณะเดียวกันอาจารย์และเจ้าหน้าที่มักจะสอบถามข้อมูลสารสนเทศฝ่ายบุคลากรเรื่องอะไร กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ อยู่ที่ไหน และแต่ละหน่วยงานต้องการข้อมูลสารสนเทศเหล่านี้หรือไม่ ใครคือผู้รู้ และมีประสบการณ์มากที่สุด เมื่อจัดการความรู้แล้ว จะนำไปทำ e-Training เพื่ออบรมอาจารย์และเจ้าหน้าที่บรรจุใหม่ในช่วง 3 ปี เพื่อเป็นเกณฑ์ในการประเมิน
6
กรณีศึกษา KM มจพ. : กองบริการการศึกษา
การจัดการความรู้ข้อมูลหลักสูตรใน มจพ. หลักสูตรที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมีกี่หลักสูตร หลักสูตรที่ต้องปรับปรุง หลักสูตรใหม่ ใครรับผิดชอบหลักสูตร ?? ใครคือผู้รู้เกี่ยวกับหลักสูตรแต่ละสาขา ใครคืออาจารย์ประจำหลักสูตร และหลักสูตรตาม TQF ต้องจัดการอย่างไร การจัดการความรู้หลักสูตร จะนำไปทำระบบฐานข้อมูลหลักสูตรของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ง่ายต้องการค้นหาและสะดวกต่อการเข้าถึง
7
กรณีศึกษา KM สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยของอาจารย์ในมหาวิทยาลัย การรวบรวม Best paper ด้านงานวิจัยและบทความวิจัย การจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและลิขสิทธิ์
8
กรอบการจัดการความรู้ของ KMUTNB
ด้านการบริหารจัดการ ด้านการผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ ด้านการวิจัยและบริการวิชาการ * ด้านทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
9
การประกันคุณภาพกับการจัดการความรู้
การประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ 7 การจัดการความรู้ แผนปฏิบัติการจัดการความรู้ การดำเนินการจัดการความรู้ ผลสำเร็จการของการจัดการความรู้ การประกันคุณภาพภายนอก
10
แผนการจัดการความรู้ การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้
การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้
11
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
คำรับรองการปฏิบัติราชการ พ.ศ.2551 ตัวบ่งชี้ที่ 21 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 4 : การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เป็นการตรวจประเมินว่าส่วนราชการมีการเลือก รวบรวม วิเคราะห์จัดการ ปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศและจัดการความรู้อย่างไร
12
Knowledge Management University Technology Network Blended
KMUTNB – KM Model Knowledge Management University Technology Network Blended
13
องค์กรอัจฉริยะเพื่อให้บุคลากรสามารถเข้าถึง
Weblog KM Web Portal KM e-Learning e-Training KM e-Research
14
เว็บที่เกี่ยวข้อง KM-KMUTNB
15
ศูนย์กลางการจัดการความรู้ KMUTNB http://www.km.kmutnb.ac.th/
16
Weblog KM-KMUTNB http://blog.prachyanun.com
17
KM-Portal : KMUTNB http://www.kmportal.kmutnb.ac.th/
18
e-Training http://www.etraining.kmutnb.ac.th/
19
e-Learning http://www.e-learning.kmutnb.ac.th/
20
KM กลุ่มการจัดการความรู้ด้านบริการและงานวิจัย http://www. research
21
คำถาม
22
วิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โทรศัพท์
23
วิทยากร อาจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี
อาจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม หัวหน้าฝ่ายนวัตกรรมและกิจการพิเศษ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โทรศัพท์
24
prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
Thank You ! ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.