งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน
(ทิศทางพลังงานและแผนพลังงานของประเทศไทย) นายดนัย เอกกมล ผู้อำนวยการสำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน บรรยายงานสัมมนา โอกาสลงทุนในพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน” วันที่ 15 กันยายน 2552 ห้องประชุม ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน)

2 ปริมาณสำรองน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติของโลก
ปริมาณสำรองน้ำมันของโลก Middle East 742.7 Asia Pacific 40.2 North America 89.5 S&Cent. America 103.5 Africa 114.3 Europe & Eurasia 140.5 ปริมาณสำรองน้ำมันของโลกประมาณ 1. 2 ล้านล้านบาร์เรล คาดว่าปริมาณสำรองของโลกจะใช้ได้อีกประมาณ 40.6 ปี 60 % ของปริมาณสำรองของโลกอยู่ในประเทศ ในตะวันออกกลาง ปริมาณสำรองน้ำมันในประเทศไทยมีประมาณ 500 ล้านบาร์เรล คาดว่าจะใช้ได้อีกประมาณ 5.2 ปี Middle East 72.13 ปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติของโลก S.& Cent. America 7.02 North America 7.46 Africa 14.39 Asia Pacific 14.84 Europe & Eurasia 64.01 ปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติของโลก ประมาณ 180 ล้านล้านลูกบาศก์เมตร คาดว่าจะใช้ได้อีก ประมาณ 65 ปี 75 % ของปริมาณสำรองของโลกอยู่ในประเทศ แถบยุโรปและตะวันออกกลาง ปริมาณสำรองในประเทศไทยมีประมาณ 0.35 ล้านล้านลูกบาศก์เมตร คาดว่าจะใช้ได้อีกประมาณ 16.5 ปี

3 ปริมาณสำรองถ่านหินของโลก
S.& Cent. America 19.9 North America 254.4 Africa 50.3 Asia Pacific 296.94 Europe & Eurasia 287.1 Middle East 0.4 ปริมาณสำรองถ่านหินของโลกประมาณ 0.9 ล้านล้านตัน คาดว่าจะใช้ได้อีกประมาณ 197 ปี 60 % ของปริมาณสำรองของโลกอยู่ใน ประเทศในยุโรปและเอเชีย ปริมาณสำรองของประเทศไทยมีประมาณ 1,354 ล้านตัน คาดว่าจะใช้ได้อีกประมาณ 143 ปี

4 การใช้พลังงานของประเทศไทย

5 สถานการณ์พลังงานของไทยในปี 2551
น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน พลังงาน หมุนเวียน 47% 12% 18% 5% ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามชนิดพลังงาน ไฟฟ้า เกษตรกรรม เหมืองแร่ 0.2% ขนส่ง อุตสาหกรรม ก่อสร้าง 0.2% พาณิชย์ 35.1% 5.2% 37% 15.2% 7.1% ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามภาคเศรษฐกิจ The First I would like to present energy situation in Thailand 2008 Energy consumption in Thailand is continuously increased during the year with an average annual growth rate of 2% In 2008 the total final energy consumption was about 66 Million tons of oil equivalent. Final energy consumption by economic sector, you will see the Transportation and Manufacturing are big consumptions that consumed the final energy amount for 72% of the country energy demand. In transportation is almost used petroleum products and for industrial sector is mixed consisting of petroleum products, natural gas, coal and agricultural waste. The total value of energy imported is a large financial burden on our country. Especially the imported petroleum product is a major portion about 97% of total value of energy imported. ที่อยู่อาศัย ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 66.3 Mtoe (มูลค่านำเข้า 35,175 Million USD)* *1 USD = THB Ref : DEDE, Thailand Energy Situation 2008

6 สรุปข้อมูลสถานภาพด้านพลังงาน ปี 2551
การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของปี ,284 ktoe, เพิ่มขึ้น 2.2% จากปี 2550 ภาคอุตสาหกรรมและภาคขมนาคมขนส่งเป็นผู้ใช้พลังงานหลัก โดยมีสัดส่วนการใช้พลังงานรวมกันเกินกว่า 70% ของการใช้พลังงานของทั้งประเทศ ประมาณร้อยละ 60 ของปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมด ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1.18 ล้านล้านบาท น้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูปเป็นเชื้อเพลิงที่มีปริมาณการนำเข้าสูงสุด คิดเป็นประมาณ 69% ของปริมาณพลังงานที่มีการนำเข้าทั้งหมด Energy Intensity ของประเทศมีค่าประมาณ 15.2 toe/million Baht Energy per Capita ของประเทศมีค่าประมาณ 1.05 toe/capita

7 การอนุรักษ์พลังงาน เป้าหมายใหม่ 20% ปี 2554(7,510 ktoe)
มูลค่าประหยัดพลังงาน ‘46–‘54 276,500 ล้านบาท (ผลประหยัดสะสม 13,825 ktoe) ภาพรวมการอนุรักษ์พลังงาน การกำกับการอนุรักษ์พลังงาน การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การสนับสนุนการอนุรักษ์พลังงาน โรงงาน/อาคารควบคุม โรงงานควบคุม อาคารควบคุม มาตรฐานการจัดการพลังงาน มาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่ มาตรฐานประสิทธิภาพอุปกรณ์ มาตรฐานขั้นต่ำ มาตรฐานขั้นสูง เงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน โรงงาน อาคาร ESCO FUND มาตรการภาษี Cost based Performance based BOI สินเชื่อพลังงาน -สินเชื่อพลังงานครัวเรือน -การสาธิตเทคโนโลยี -DSM การพัฒนาบุคลากร การถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยี การอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม การอนุรักษ์พลังงานในกระบวน การผลิตและการเปลี่ยนเครื่องจักร ประสิทธิภาพสูง การกระตุ้นเสริมสร้างจิตสำนึก -การให้คำปรึกษาและคลินิกพลังงาน -การสร้างเครื่อข่ายด้านอนุรักษ์พลลังงาน สถาอุตสาหกรรม หอการค้าไทย การนิคมอุตสาหกรรมฯ 7

8 โรงงานควบคุม/อาคารควบคุม* กลุ่มเป้าหมาย
อาคารควบคุม 1,921 แห่ง เอกชน แห่ง ราชการ 795 แห่ง โรงงานควบคุม 3,360 แห่ง *โรงงานหรืออาคารที่มีการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดตั้งแต่ 1,175 kvA หรือใช้พลังงานเทียบเท่าพลังงานไฟฟ้าตั้งแต่ 20 ล้านเมกะจูลต่อปีขึ้นไป

9 การกำกับการอนุรักษ์พลังงาน
โรงงาน/อาคารควบคุม แนวคิดการดำเนินงาน นำระบบการจัดการพลังงานมาใช้ในการกำกับดูแลตามข้อกำหนดตามมาตรการ 9 และ 21 ซึ่งกำหนดให้ เจ้าของโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม ต้องดำเนินการอนุรักษ์พลังงานด้วยการจัดการพลังงาน ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา อาคารควบคุม 1,930 แห่ง มีการดำเนินงานตาม กม. ประมาณ 82 % - ศักยภาพ 146 ktoe/ปี คิดเป็นมูลค่า 1,077 ล้านบาท/ปี โรงงานควบคุม 3,313 แห่ง มีการดำเนินงานตาม กม. ประมาณ 70 % - ศักยภาพ ktoe/ปี คิดเป็นมูลค่า 5,412 ล้านบาท/ปี กฎกระทรวงที่เกียวข้องมี 3 ฉบับ ดังนี้ - กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน - กฎกระทรวง กำหนดคุณสมบัติ หน้าที่และจำนวนผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน - กฎกระทรวง กำหนดคุณสมบัติของผู้ตรวจสอบพลังงาน การขอรับใบอนุญาตและการต่อ ใบอนญาต เป็นผู้ตรวจสอบพลังงาน (อยู่ในระหว่างการพิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา) 9

10 การกำกับการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่ ข้อกำหนด : 1. อาคารที่ก่อสร้างแล้วเสร็จหรือดัดแปลงแล้วเสร็จ มีขนาดพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องออกแบบให้อนุรักษ์พลังงาน (พรบ. มาตรา 19) 2. มาตรฐานการออกแบบเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (กฎกระทรวง/ประกาศกระทรวง) ระบบกรอบอาคาร (ผนัง, หลังคา) ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ (ขนาดเล็ก, ขนาดใหญ่, แบบดูดกลืน) อุปกรณ์ผลิตน้ำร้อน (หม้อไอน้ำ, หม้อต้มน้ำร้อน, ฮีตปั้ม) 3. การใช้พลังงานรวม การใช้พลังงานหมุนเวียนในระบบต่างๆ ของอาคาร สถานะภาพปัจจุบันของกฎกระทรวง ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการควบคุมอาคาร

11 โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ลักษณะโครงการ - เป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ โดยปล่อยผ่านสถาบันการเงินในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 4 % สำหรับการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน - กองทุนคิดอัตราดอกเบี้ยจากสถาบันการเงิน 0.5% (เริ่มตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นไป) - วงเงินกู้ไม่เกิน 50 ล้านบาทต่อโครงการ - อายุเงินกู้ไม่เกิน 7 ปี ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี ’46 –’52 ภาครัฐปล่อยเงินกู้ทั้งหมด 5,978 ล้านบาท เอกชนลงทุนเอง 6,069 ล้านบาท รวมเงินลงทุนทั้งหมด 12,047 ล้านบาท เกิดผลประหยัด 4,138 ล้านบาท/ปี สถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการ

12 โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน เงินลงทุนเฉลี่ย 12,446,174 บาท/โครงการ ระยะเวลาคืนทุนเฉลี่ย 3 ปี เงินลงทุนเฉลี่ย 71,178,684 บาท/โครงการ ระยะเวลาคืนทุนเฉลี่ย 3 ปี

13 Energy Conservation Promotion Fund
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้ โครงการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO Fund) ลักษณะโครงการ จัดตั้งกองทุน เพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้โครงการอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทน Energy Conservation Promotion Fund เงินสนับสนุน ESCO Fund Investment Committee ปี 51-52 งบประมาณ 500 ล้านบาท Investor Investor Investor Investor Fund Manager ESCO Venture Capital Equity Investment Equipment Leasing Carbon Market Technical Assistance Credit Guarantee Facility กลไกการบริหาร ผู้จัดการกองทุน : ดำเนินการบริหารจัดการกองทุน คณะกรรมการการลงทุน : กำกับดูแล วางนโยบาย ประกอบ ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐและผู้ทรงคุณวุฒิ กองทุนฯจะได้รับผลตอบแทนตามสัดส่วนของการลงทุนและผลประกอบการของบริษัท / โครงการ ที่เข้าร่วมลงทุน 13

14 การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้ โครงการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO Fund) เงื่อนไขการสนับสนุน % ของเงินลงทุนทั้งหมด แต่ไม่เกิน 50 ล้านบาท 2. ผลตอบแทนและความเสี่ยงอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม การถอนตัวการลงทุน หลักเกณฑ์ พิจารณาถอนตัวจากการลงทุนเมื่อโครงการคืนทุนแล้ว หรือสามารถดำเนินการต่อได้ด้วยตนเอง ทั้งนี้ เพื่อนำเงินไปใช้ส่งเสริมโครงการอื่นๆ ต่อไป และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการเข้าร่วมทุนของกองทุนฯ สำหรับช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้โครงการสามารถดำเนินการได้ในช่วงเริ่มต้น วิธีการ 1. ขายหุ้น / ทรัพย์สินคืนแก่เจ้าของโครงการหรือนักลงทุนรายอื่นในราคาตลาด หรือในราคาที่มีการตกลงไว้ (เงินลงทุน+ดอกเบี้ย) 2. ผ่อนชำระคืนเงินลงทุน ภายใน 5 ปี พร้อมดอกเบี้ย 3. ขายเข้าตลาดหลักทรัพย์ (ถ้าเป็นไปได้) 14

15 การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การจัดตั้งกองทุนเพื่อร่วมลงทุนและส่งเสริมการลงทุนให้ โครงการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO Fund) Fund Manager มูลนิธิอนุรักษ์พลังงานแห่งประเทศไทย มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม ผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน มีโครงการได้รับอนุมัติการลงทุนแล้ว 8 โครงการ ประกอบด้วย - โครงการลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากชีวมวล 4 โครงการ - โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 1 โครงการ - โครงการด้านการเช่าซื้อ และขยายการจำหน่ายอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 2 โครงการ ใช้เงินของ ESCO Fund ทั้งสิ้น ล้านบาท ก่อให้เกิดการลงทุน 1, ล้านบาท และมี ผลประหยัดประมาณ ล้านบาท / ปี 15

16 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการภาษี ลักษณะโครงการ Cost-based (ระยะที่1 : ): - ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภท วัสดุ อุปกรณ์หรือ เครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน ในอัตราร้อยละ 25 - ให้สิทธิเฉพาะเงินค่าใช้จ่าย 50 ล้านบาทแรก - ทยอยหักภาษีใน 5 รอบระยะเวลาบัญชี - ให้สิทธิ์เฉพาะการเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ที่ประหยัดพลังงานกว่าทดแทนอุปกรณ์เดิมซึ่งเป็นชนิด เดียวกัน Cost-based (ระยะที่2 : ): อยู่ระหว่างเตรียมประกาศกรม ของ พพ. และกรมสรรพากร เครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน แต่ไม่รวมถึงยานพาหนะและวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่ใช้กับยานพาหนะ ในอัตราร้อยละ 25 - ไม่จำกัดขนาดเงินลงทุน - ให้สิทธิ์ได้ทั้งการเปลี่ยนอุปกรณ์ หรือติดตั้งเพิ่มเติม Performance-based : - ดำเนินการ 2 ระยะ ( และ ) - หักคืนภาษีในอัตรา 30% ของผลประหยัดจากโครงการด้านอนุรักษ์พลังงาน - ยกเว้นภาษีสูงสุดไม่เกิน 2 ล้านบาท /สถานประกอบการ - ต้องมีการทำ Pre และ Post Audit BOI : ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี + ยกเว้นอากรขาเข้า สำหรับธุรกิจ 3 ประเภท ได้แก่ 1. การผลิตเครื่องจักร อุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน และ การผลิต Solar PV 2. ธุรกิจบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) 3. ธุรกิจผลิตพลังงานทดแทน 16

17 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการทางภาษี ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา Cost-based (ระยะที่1) - สถานประกอบการได้รับสิทธิ์ 94 แห่ง รัฐจ่ายคืนภาษีเป็นเงิน 139 ล้านบาท - เกิดผลประหยัด 375 ล้านบาท/ปี - กระตุ้นให้เกิดการลงทุน 557 ล้านบาท ระยะคืนทุนเฉลี่ย 1.5 ปี Performance-based (ระยะที่1) - สถานประกอบการได้รับสิทธิ์ 119 แห่ง รัฐจ่ายคืนภาษีเป็นเงิน 42 ล้านบาท - เกิดผลประหยัด 402 ล้านบาท/ปี - กระตุ้นให้เกิดการลงทุน 546 ล้านบาท ระยะคืนทุนเฉลี่ย 1.35 ปี Performance-based (ระยะที่ 2) - สถานประกอบการได้รับสิทธิ์ 132 แห่ง รัฐจ่ายคืนภาษีเป็นเงิน 96 ล้านบาท - เกิดผลประหยัด 628 ล้านบาท/ปี - กระตุ้นให้เกิดการลงทุน 1276 ล้านบาท ระยะคืนทุนเฉลี่ย 2.03 ปี BOI - โครงการที่ได้รับการอนุมัติ 37 โครงการ - เกิดผลประหยัด 2,459 ล้านบาท/ปี - กระตุ้นให้เกิดการลงทุน 8,006 ล้านบาท 17

18 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการภาษี ผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน Cost-based (ระยะที่2) รอ สนง. คณะกรรมการกฤษฎีกา ประกาศ พรฎ. ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร(ฉบับที่...) และประกาศกรมสรรพากร + ประกาศ กรมพัฒนาฯ แผนงานระยะต่อไป : ผลักดันกฏหมายและการสนับสนุนด้านภาษีให้เป็นนโบายและมีการนำมาใช้อย่างจริงจัง

19 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
สินเชื่อ .... พลังงาน ลักษณะโครงการ พพ. ร่วมมือสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อทางด้านพลังงาน (เพิ่มเติมจากภาคที่อยู่ อาศัย ธุรกิจ การศึกษา) โดยมีการลงนาม MOU กับ 13 ธนาคาร ธนาคารเป็นผู้กำหนดหลักเกณฑ์ในการปล่อยสินเชื่อของตนเอง พพ. สนับสนุนข้อมูลด้านพลังงาน บริการด้านวิชาการ ตลอดจนช่วยการประชาสัมพันธ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดการลงทุนด้านพลังงาน เพื่อนำไปสู่การลดต้นทุนพลังงานของผู้ประกอบการธุรกิจและอุตสาหกรรม ทำให้สามารถเกิดการแข่งขันกับนานาประเทศได้ นอกจากนี้ ยังเกิดผลดีกับประเทศชาติ ทั้งส่วนของการลดการนำเข้าพลังงาน การพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทน และส่งผลดีต่อสภาพแวดล้อม ก่อให้เกิดการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า โดยคาดว่าจะสามารถประหยัดพลังงานในรูปแบบต่างๆ ดังนี้ ประหยัดไฟฟ้า ได้ประมาณ 4,200 ล้านหน่วย/ปี ประหยัดน้ำมัน (เทียบเท่าน้ำมันเตา) 1,110 ล้านลิตร/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ ประมาณ 21,000 ล้านบาท/ปี (คิดจากวงเงินที่ให้สินเชื่อพลังงานรวม 60,000 ล้านบาท) 19

20 การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
สินเชื่อ .... พลังงาน ผลการดำเนินถึงปัจจุบัน ( เมษายน สิงหาคม 2552) ธนาคารปล่อยสินเชื่อไปแล้วเป็นวงเงินรวม 65,473 ล้านบาท เกิดผลประหยัดพลังงานประมาณ 21,824 ล้านบาท/ปี คิดเป็นจำนวนโครงการที่ได้รับสินเชื่อไปดำเนินการประมาณ 1,200 โครงการ ประเภทของโครงการที่มีการลงทุน เช่น โครงการผลิตไฟฟ้า SPP, VSPP , Co-generation การเปลี่ยนเครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง เช่น Boiler, Chiller, VSD การปรับปรุงกระบวนการผลิต

21 แผนพัฒนาพลังงานทดแทน พ.ศ. 2551-2565
7.6% Target 5,608 MW Existing 1,750 MW Adder cost 3,858 MW น้ำขนาดเล็ก/ลม/แสงอาทิตย์ ชีวมวล/ก๊าซชีวภาพ/ พลังงานขยะ/ไฮโดรเจน Target 7,433 ktoe Existing 3,007 Ktoe 2554 15.6% 2.4% เอทานอล Target ล้านลิตร/วัน Existing ล้านลิตร/วัน ไบโอดีเซล Target ล้านลิตร/วัน Existing ล้านลิตร/วัน ไฮโดรเจน Target ล้าน ก.ก. 4.1% ผลิตไฟฟ้า ผลิต ความร้อน เชื้อเพลิงชีวภาพ 2565 20.3% 2551* 6.4% R&D Adder cost ESCO Fund BOI/ เงินทุนหมุนเวียน มาตรการส่งเสริม CDM NGV Target 690 mmscfd (6,090 ktoe) Existing mmscfd 6.2% 19.1% 2559 ทดแทนพลังงานได้ 4,237 ktoe/ปี ลดการนำเข้าพลังงาน 99,500 ล้านบาท/ปี ลดก๊าซเรือนกระจก 13 ล้านตัน/ปี ทดแทนพลังงานได้ 19,800 ktoe/ปี ลดการนำเข้าพลังงาน 461,800 ล้านบาท/ปี ลดก๊าซเรือนกระจก 42 ล้านตัน/ปี ความต้องการใช้พลังงานรวมตั้งแต่เดือนมกราคม – สิงหาคม 2551 = 65,420 ktoe การคำนวณ มูลค่าการนำเข้าพลังงานที่ลดลง คิดจากราคาน้ำมันดิบ 100 USD/barrel และ Fx = 34 THB/USD ดังนั้นการใช้พลังงานทดแทน 1 ktoe ลดการนำเข้าน้ำมัน ล้านบาท พลังงานทดแทน 1 ktoe ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 3, ตัน มกราคม 2551-สิงหาคม 2551 ใช้ NGV ในภาคขนส่งรวม 14,834,880,411 ลบ.ฟ. หรือคิดเป็น ktoe ประเมินที่ราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยปี 2551 ที่ ดอลล่าร์สหรัฐต่อบาร์เรล หมายเหตุ : *เบื้องต้นประมาณการ ณ ม.ค. 52 21 21 21 21 21 21

22 ภาพรวมแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี
แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี จะแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะสั้น (2551 – 2554) มุ่งเน้นส่งเสริมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่ได้รับการยอมรับแล้ว (proven technologies) และมีศักยภาพแหล่งพลังงานทดแทนสูง ได้แก่ เชื้อเพลิงชีวภาพ การผลิตไฟฟ้า และความร้อนจากชีวมวล ก๊าซชีวภาพ และNGV โดยใช้มาตรการสนับสนุนทางด้านการเงินเต็มรูปแบบ ระยะกลาง (2555 – 2559) ส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีพลังงานทดแทน และสนับสนุนพัฒนาต้นแบบเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม่ๆ เช่น การผลิตเอทานอลและไบโอดีเซลจากสาหร่าย, การผลิตน้ำมันจากชีวมวล และเชื้อเพลิงไฮโดรเจน ให้มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์เพิ่มสูงขึ้น รวมถึงส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีใหม่ในการผลิตพลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพ และพัฒนาต้นแบบ Green City และนำไปสู่การสร้างความเข้มแข็งให้กับการผลิตพลังงานทดแทนระดับชุมชน ระยะยาว (2560 – 2565) ส่งเสริมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม่ๆ ที่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ รวมถึงการขยายผล Green City และพลังงานชุมชน และสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์ส่งออกเชื้อเพลิงชีวภาพ และการส่งออกเทคโนโลยีพลังงานทดแทนในภูมิภาคอาเซียน 22 22 22 22

23 การขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ
(1) ส่งเสริมการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน (RE) มีมาตรการจูงใจที่เหมาะสมและเป็นธรรม กระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการ RE แก้ไขกฎหมาย/กฎระเบียบ,ทบทวนมาตรการ Adder Cost, กำหนดมาตรการทางภาษีและการลงทุนให้เหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมการลงทุนผ่าน ESCO Fundและผลักดันให้โครงการREเป็นโครงการ CDM ส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตและสร้างมาตรฐานเทคโนโลยีพลังงานทดแทน พร้อมทั้งถ่ายทอดความรู้และตัวอย่างโครงการพลังงานทดแทนที่ประสบผลสำเร็จ (2) ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทน จัดสรรงบประมาณและบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วนในการวิจัย พัฒนาและสาธิต ตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ พร้อมทั้ง ศึกษาแนวทางการจัดการ RE ทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค เพื่อให้สามารถต่อยอดให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งสร้างองค์ความรู้ให้กับประชาชนและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง (3) รณรงค์สร้างจิตสำนึกและประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ รณรงค์ให้ประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการพัฒนา RE รวมทั้งสามารถเข้าถึงนโยบายและมาตรการส่งเสริมพลังงานทดแทนได้ จัดตั้งเครือข่าย RE เพื่อเป็นกลไกในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้, จัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างศักยภาพบุคลากร และ สร้างหลักสูตรการเรียนด้านพลังงานทดแทน 23 23

24 มาตรการส่งเสริมพลังงานทดแทน
1. Adder Cost ใหม่ ที่มา:

25 สถานภาพโครงการ CDM ในประเทศไทย
ผลิตพลังงานชีวมวล โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน โครงการ ผลิตพลังงานก๊าซชีวภาพ 52 โครงการ ผลิตปุ๋ยจากทะลายปาล์ม โครงการ ผลิตพลังงานขยะ โครงการ ลดการปล่อยไนตรัสออกไซด์ 1 โครงการ โครงการ CDM ที่ได้รับหนังสือให้คำรับรอง LoA ของประเทศไทย จำนวน 86 โครงการ ขึ้นทะเบียนเป็นโครงการ CDM แล้วทั้งสิ้น 18 โครงการ ได้รับใบรับรองปริมาณคาร์บอนเครดิตแล้ว 2 โครงการ 25

26 ตอบข้อซักถาม


ดาวน์โหลด ppt การอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google