งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารการตลาดโครงการทำการเกษตรตามสัญญา(Contract Farming) กรณีศึกษาด้านประเทศ สปป.ลาว โดย นางปราณี ศิริพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการค้าชายแดนและมาตรการพิเศษทางการค้า.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารการตลาดโครงการทำการเกษตรตามสัญญา(Contract Farming) กรณีศึกษาด้านประเทศ สปป.ลาว โดย นางปราณี ศิริพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการค้าชายแดนและมาตรการพิเศษทางการค้า."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารการตลาดโครงการทำการเกษตรตามสัญญา(Contract Farming) กรณีศึกษาด้านประเทศ สปป.ลาว
โดย นางปราณี ศิริพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการค้าชายแดนและมาตรการพิเศษทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ

2 Economic Cooperation Strategy : ACMECS) สาขาความร่วมมือด้านการเกษตร
ภายใต้ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี - เจ้าพระยา – แม่โขง (Ayeyawady- Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) สาขาความร่วมมือด้านการเกษตร

3 ปัจจัยสำคัญต่อโครงการทำการเกษตร ตามสัญญาในประเทศ เพื่อนบ้าน
การแข่งขันทางการค้าอย่างรุนแรงในเวทีการค้าโลก - ส่งเสริมความร่วมมือการผลิตสินค้าระหว่างประเทศ ACMECSโดยใช้ ศักยภาพที่มีอยู่ของแต่ละประเทศมาร่วมกันผลิต - ประเทศ ACMECS ยังมีพื้นที่เพาะปลูกและทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ - มีจำนวนประชากรและแรงงานในภาคเกษตรเป็นจำนวนมาก - ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน

4 วัตถุประสงค์โครงการ 1. เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของ ACMECS 2
วัตถุประสงค์โครงการ 1. เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของ ACMECS 2. ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งวัตถุดิบในประเทศสมาชิก พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ACMECS 4. แก้ไขปัญหาการการหลบหนีเข้าเมืองผิดกฎหมาย และยาเสพติดบริเวณชายแดน

5 ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจของไทย กัมพูชา สปป.ลาว สหภาพพม่า

6 แนวคิดส่งเสริมการผลิตในประเทศเพื่อนบ้าน จังหวัด ของ ประเทศเพื่อนบ้าน
กลุ่มผู้ผลิตสินค้า Border Line Transport route Borfer Check Point Border Market Border Economic Zone Livestock จังหวัดของไทย Fisheries กลุ่มผู้ผลิตสินค้า Forestry Cultivation Area

7 สินค้าเป้าหมาย 11 ชนิด ถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเขียวผิวมัน
ข้าวโพดหวาน ถั่วลิสง มันฝรั่ง ลูกเดือย ละหุ่ง ยูคาลิปตัส เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ เมล็ดงา

8 ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stake Holder)
ขั้นตอนการดำเนินงาน หน่วยงาน บทบาท ภาคเอกชนไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ผู้ทำสัญญา กรมการค้าต่างประเทศ นำคณะผู้แทนการค้าการลงทุน การทำสัญญา จังหวัดชายแดนทั้งสองประเทศ รับรองผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสองฝ่าย

9 ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stake Holder)
ขั้นตอนการดำเนินงาน หน่วยงาน บทบาท ภาคเอกชนไทย สนับสนุนปัจจัยการผลิต ภาคเอกชนไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ทำการผลิตตามสัญญา การผลิต กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิต การปลูก จังหวัดชายแดนทั้งสองประเทศ ตรวจสอบการผลิตให้เป็นไปตามสัญญา

10 ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stake Holder)
ขั้นตอนการดำเนินงาน หน่วยงาน บทบาท ภาคเอกชนไทย นำเข้าวัตถุดิบตามสัญญา การบริหาร การนำเข้าวัตถุดิบ กรมการค้าต่างประเทศ เปิดตลาดสินค้านำเข้าภายใต้สัญญา กระทรวงการคลัง ยกเว้นภาษีนำเข้า กรมศุลกากร อำนวยความสะดวกการนำเข้า

11 ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stake Holder)
ขั้นตอนการดำเนินงาน หน่วยงาน บทบาท ภาคเอกชนไทย ส่งออกสินค้าไปตลาดต่างประเทศ การหาตลาดต่างประเทศ สินค้าสำเร็จรูป ทูตพาณิชย์ในต่างประเทศ แจ้งข้อมูลตลาดในต่างประเทศ กรมการค้าต่างประเทศ คณะผู้แทนการค้าไทยขยายตลาด ในต่างประเทศ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารการตลาดโครงการทำการเกษตรตามสัญญา(Contract Farming) กรณีศึกษาด้านประเทศ สปป.ลาว โดย นางปราณี ศิริพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการค้าชายแดนและมาตรการพิเศษทางการค้า.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google