งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อ.ดร. ปิยะวรรณ บุญโพธิ์ แขนงวิชาเคมีคลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อ.ดร. ปิยะวรรณ บุญโพธิ์ แขนงวิชาเคมีคลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ เชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อ.ดร. ปิยะวรรณ บุญโพธิ์ แขนงวิชาเคมีคลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ เชียงใหม่
โภชนาการเพื่อการป้องกันโรคหลอดเลือดและหัวใจ Heart attack Stroke อ.ดร. ปิยะวรรณ บุญโพธิ์ แขนงวิชาเคมีคลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ เชียงใหม่

2 โรคหลอดเลือดและหัวใจ
โรคหลอดเลือดและหัวใจใช้เวลาหลายปีกว่าจะแสดงอาการให้เห็น หลอดเลือดที่เริ่มตีบแคบอาจเกิดตั้งแต่อายุไม่มากเพราะไขมันและแคลเซียมไปสะสม เรียกว่า Plaque อัตราการเกิด Plaque ขึ้นกับปริมาณ LDL-cholesterol อาการที่เกิดกับหลอดเลือดหัวใจเรียกว่า myocardial infarction หรือ หัวใจวาย อาการที่เกิดกับหลอดเลือดที่สมองเรียกว่า Stroke

3 โรคหลอดเลือดและหัวใจ
การเกิด plaque ที่หลอดเลือดจะทำ ให้หลอดเลือดเริ่มตีบแคบ และแข็ง ขาดความยืดหยุ่น เปราะแตกง่าย ถ้ามีความดันโลหิตสูงร่วมด้วย ก็ยิ่งทำ ให้โอกาสที่หลอดเลือดที่เปราะอยู่แล้ว แตกได้ง่ายขึ้น ถ้าก้อน Plaque ไปอุดและขวาง ทางเดินเลือดไว้ ก็จะทำให้เกิดอาการ ได้ เช่น หัวใจวาย หรือ stroke

4 Risk Factors Uncontrollable Controllable Sex Hereditary Race Age
High blood pressure High blood cholesterol Smoking Physical activity Obesity Diabetes Stress and anger

5 Blood pressure ความดันโลหิตของคนเราไม่เท่ากันตลอดเวลาขึ้นกับท่า ความเครียด การออกกำลังกาย การนอนหลับแต่ไม่ควรเกิน 140/90 ปกติ 120/80 โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคหัวใจ โรคไต โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคอัมพาต ความดันโลหิตแค่ไหนจึงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ความรุนแรงของความดั นโลหิต Systolic Diastolic จะต้องทำอะไร ความดันโลหิตสูงระดับ 1 Stage 1 (mild) 90-99 ให้ตรวจวัดความดันอีกใน 2 เดือน ความดันโลหิตสูงระดับ 2 Stage 2 (moderate) >160 >100 ให้พบแพทย์ใน 1 เดือน

6 เมื่อต้องผ่าตัดหัวใจ
                                                                                                                                                

7 อาการของโรคหัวใจวายเฉียบพลัน
Intense prolonged chest pain Shortness of breath Sweating Nuasea and vomitting Dizziness Weakness Jaw, neck and shoulder pain Irregular heartbeat

8 ปัจจัยที่ทำให้เกิดอาการหัวใจวายเฉียบพลัน
Dehydration Emotional stress Strenuous exercise Waking during the night and getting up in the morning Eating a large, high fat meal

9 อาการของโรคหลอดเลือดที่สมอง Cerebrovascular accident
Sudden numbness or weakness of the face, arm or leg Trouble speaking or understanding Trouble seeing Trouble walking Sudden severe headache

10 ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดนอกเหนือจาก LDL-cholesterol
สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง HDL-cholesterol ต่ำน้อยกว่า 40 mg/dl มีประวัติครอบครัวเป็นมาก่อน อายุมากก็เสี่ยงเพิ่มขึ้น ชาย > 45 ปี , หญิง > 55 ปี

11 ข้อควรปฏิบัติ 1 ต้องลด LDL-cholesterol
ลดอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง Transfat และ cholesterol รับประทานอาหารที่มีเส้นใยมาก

12 ข้อควรปฏิบัติ 2 ต้องลด Triglyceride
ลดสัดส่วนอาหารที่รับประทาน แต่เพิ่มจำนวน มื้อให้มากขึ้น ลดเครื่องดื่ม alcohol ลดน้ำตาล รับประทานปลาเพิ่มขึ้นจะดี

13 ข้อควรปฏิบัติ 3 ต้องเพิ่ม HDL-cholesterol
ออกกำลังกาย 45 นาที ต่อวัน เพียง 4 วัน ต่อ อาทิตย์ก็เพียงพอ งดบุหรี่ งดอาหารไขมันสูง การดื่ม alcohol เพียงเล็กน้อยจะช่วยเพิ่ม HDL-cholesterol

14 Healthy cooking ปรุงอาหารด้วยวิธี อบ นึ่ง ต้ม ย่าง ดีกว่า ทอด
หนังไก่ไม่ควรรับประทาน ใช้ปริมาณน้ำมันพืชให้น้อยลงในการทำอาหาร นำไขมันสัตว์ที่เห็นออกก่อนปรุงอาหาร

15 Healthy shopping เลือก อกไก่ น่องไก่ แทนพวก สะโพก และปีกไก่
ซื้อผัก ผลไม้ ธัญญาพืช ดีกว่า อ่านฉลากข้างอาหาร ข้อมูลทางโภชนาการว่ามี ไขมันเท่าใด ให้พลังงานเท่าใด

16 Omega-3 fatty acids Reduce inflammation, blood clotting
แหล่งที่มาได้แก่ ไขมันปลาจำพวก ปลาทูน่า แซลม่อน อาทิตย์ละสองมื้อ น้ำมันมะกอก น้ำมันคาโนลา Walnuts น้ำมันปลา (แพง และอาจมีโลหะหนักเจือปน)

17 omega-6 กับ omega-3 นักวิจัยพบว่าน้ำมันพืชที่เราใช้อยู่ปัจจุบันคือ น้ำมันถั่ว เหลือง น้ำมันข้าวโพด น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันเมล็ด ฝ้าย มีส่วนของ omega-6 มากกว่า omega-3  omega-6 แม้จะมีความจำเป็นต่อร่างกาย แต่ถ้าได้รับ มากเกินไป ก็เป็นต้นเหตุให้ความดันเลือดสูงได้ ทำ ให้เกิดการแข็งตัวของเลือดง่ายขึ้น ดังนั้นก็ควรอย่าใช้น้ำมันในอาหารมากเกินจำเป็น เช่น ในของทอด หรือผัด ควรทานอาหารประเภทต้ม หรือ นึ่งมากกว่า

18 อาหารลดความดันโลหิตสูง
Dietary Approaches to Stop Hypertension (DASH) ลดอาหารที่มีไขมันสูง เพิ่มสัดส่วนของผัก ผลไม้ และธัญญาพืชในอาหารแต่ละมื้อ การรับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์ควรจะเป็นปลา งดเนื้อแดง ลดเกลือ และอาหารที่มีโซเดียมสูง ควรได้รับโปแทสเซียม แมกนีเซียม และแคลเซียมอย่างเพียงพอ

19 Goals of DASH Eating Plan
„ Total fat: ไม่เกิน 27% total calories „ Saturated fat: ไม่เกิน 6% calories „ Dietary cholesterol: ไม่เกิน 150 mg „ Protein: 18% total calories „ High fiber: มากกว่า 30 g „ Sodium: ไม่เกิน 2300 mg „ Potassium: มากกว่า 4700 mg „ Magnesium: มากกว่า 500 mg „ Calcium: mg ต่อ พลังงาน 1000 calories

20 Potassium & Hypertension
งานวิจัยพบว่า ผู้ที่รับประทานอาหารที่มี โซเดียมน้อย โปแทสเซียมมาก จะรอดพ้นจากโรคหัวใจ ปริมาณที่แนะนำ ผู้ใหญ่: 4700 mg ต่อวัน „ควรได้รับจากอาหารดีที่สุด ได้แก่ มันฝรั่ง มะเขือเทศ, broccoli, ส้ม กล้วย แตงโม แคนตาลูป มะละกอ สตรอบอรี่

21 ปริมาณแร่ธาตุในผลไม้ 100 กรัม เรียงลำดับปริมาณโพแทสเซียมจากมากไปน้อย
ปริมาณแร่ธาตุในผลไม้ 100 กรัม เรียงลำดับปริมาณโพแทสเซียมจากมากไปน้อย ผลไม้ โพแทสเซียม มก. โซเดียม มก. แคลเซิยม มก. แมกนีเซียม มก. เหล็ก มก. สังกะสี มก. ทุเรียนชะนี 406 4 16 0.3 กล้วยหอม 374 3 21 0.2 0.1 กล้วยไข่ 310 7 2 ทุเรียนหมอนทอง 292 20 แก้วมังกร 271 23 สมสายน้ำผึ้ง 229 5 14 น้อยหน่าหนัง 214 1 15 ฝรั่งแป้นสีทอง 210 6 ขนุน 207 10 19 กล้วยน้ำว้า 204 25 มะละกอแขกดำ 199 8 ลองกอง 192 12 ลิ้นจี่จักรพรรดิ 165 9 สตรอเบอรี่ 132 ลิ้นจี่ฮงฮวย 131 องุ่นเขียว 130 ละมุดมาเลเซีย 128 แตงโมจินตราแดง 120 สละ 114

22 Magnesium & Hypertension
แมกนีเซียมช่วยในการนำไฟฟ้าของเส้นประสาท ทำให้หัวใจเต้นเป็นจังหวะ ทำให้กระดูกแข็งแรง และกระบวนการอื่นอีกกว่า 300 ชนิด งานวิจัยพบว่า อาหารที่มี แมกนีเซียมมากจะลดอัตราเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงได้ เพราะการขาดแมกนีเซียมจะทำให้ผนังเส้นเลือดแดงบีบตัว ปริมาณที่แนะนำ ผู้ชาย: 420 mg ต่อวัน ผู้หญิง: 320 mg ต่อวัน ผักใบเขียวทั้งหลาย แกนกลางของ chlorophyll มีมาก Broccoli, Almonds, Cashews

23 Calcium & Hypertension
งานวิจัยพบว่า อาหารที่มี แคลเซียมต่ำจะทำให้เกิดความดันโลหิตสูงได้ ปริมาณที่แนะนำ อายุ ปี: 1000 mg ต่อวัน อายุ 50 ปีขึ้นไป หรือ ตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร: 1200 mg ต่อวัน (milk, yogurt, cheese salmon, tofu ผักใบเขียว)

24 Calcium & Hypertension
เพิ่มการดูดซึมแคลเซียมโดย ต้องได้รับแมกนีเซียม และ แร่สังกะสี (zinc) อย่างเพียงพอ ต้องได้รับ Vitamin D เพื่อช่วยการดูดซึม ลดอาหารที่มี ออกซาเลต เช่น โกฐน้ำเต้า มะเฟืองพริกไทยดำ ผักชีฝรั่ง เมล็ดป๊อปปี้ ผักโขม หัวผักกาดถั่วต่างๆ ลูกไม้ต่างๆ ลดแอกอฮอล์ กาแฟ ยาแก้ท้องเฟ้อ โซเดียม ฟอสเฟต เพิ่มอาหารที่มีกากใย

25 „ The American Heart Association
Antioxidants and Heart Disease „ The American Heart Association DOES NOT support the use of vitamin E supplementation to reduce the risk of heart disease and they strongly discourage the use of beta carotene supplements which have been associated with an increased risk of cancer, particularly among smokers.

26 Dark Chocolate Flavonoid-rich; powerful antioxidant
Improves vascular function Decreases platelet adhesion Decreases blood pressure No more than 1-2 small squares daily

27 Homocysteine & Heart Disease
„ What elevates homocysteine? „ Genetics (defective gene) „ Chronic Kidney Disease ; Diabetes „ Cigarette smoking; Alcoholism „ Age Homocysteine levels are 40 times more predictive of heart attack or stroke than Cholesterol levels!!

28 Reducing Homocysteine
เพิ่ม Folate มีมากในผักใบเขียว, asparagus, green beans, broccoli, tomatoes, beans and peas เพิ่ม Vitamin B12 มีมากในปลา, egg yolk, milk, fermented cheese, fortified soy milk and cereal เพิ่ม Vitamin B6 ได้แก่ watermelon, banana, broccoli, spinach, potatoes

29 สรุปการปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากโรคหลอดเลือดและหัวใจ
ควบคุม blood pressure ควบคุม blood cholesterol งดบุหรี่ No Smoking เพิ่ม Physical activity ลดน้ำหนัก ควบคุมเบาหวานให้ดี Diabetes ควบคุมอารมณ์ Stress and anger

30 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt อ.ดร. ปิยะวรรณ บุญโพธิ์ แขนงวิชาเคมีคลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google