ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThitiwat Sirishumsaeng ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน พ.ศ. 2547 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรกฎาคม 2547
2
วัตถุประสงค์ มาตรการ การตรึงราคาน้ำมัน การกำหนดระดับราคาน้ำมันขายปลีก
เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ มาตรการ การตรึงราคาน้ำมัน การกำหนดระดับราคาน้ำมันขายปลีก แนวทางการกำหนดมาตรการประหยัดพลังงาน ข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นข้อมูลให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการวางแผน ตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดมาตรการต่าง ๆ ต่อไป
3
การสำรวจ วันที่ 1 - 11 มิถุนายน 2547
คุ้มรวม : ประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ทั่วประเทศ การเสนอผลการสำรวจ เสนอผลในระดับภาค และทั่วประเทศ ในรูปร้อยละ แผนการสุ่มตัวอย่าง ใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ Stratified three-stage sampling มีจำนวนประชาชนที่ตกเป็นตัวอย่างกระจายไป ในทุกจังหวัด ทั่วประเทศ จำนวน 5,800 คน ปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่าง วันที่ มิถุนายน 2547
4
ความคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคาน้ำมันของรัฐบาล
ร้อยละ 100 85.3 85.8 83.1 80 เห็นด้วย 60 ไม่เห็นด้วย 40 16.9 14.7 14.2 20 การใช้พาหนะเดินทาง รวม ผู้ใช้รถ ส่วนบุคคล ผู้ใช้รถ สาธารณะ
5
ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการตรึงราคาน้ำมัน
ทั่ว ประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น. ใต้ รวม 100.0 ตรึงราคาเบนซินและดีเซลแต่กำหนดเพดานระดับราคาใหม่ 76.7 71.7 74.3 81.8 77.5 76.5 ปรับเปลี่ยนแผนใหม่ 11.8 16.6 13.0 9.3 10.3 12.7 ปล่อยให้ราคาน้ำมันขายปลีก ลอยตัวตามกลไกของตลาด 6.7 7.9 7.5 4.9 5.8 8.6 ตรึงราคาเฉพาะดีเซล แต่ไม่ตรึงราคาน้ำมันเบนซิน 5.1 8.7 5.5 4.4 4.5 4.1 ไม่แสดงความคิดเห็น 11.5 11.7 12.7 8.9 12.2 10.8
6
ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับราคาน้ำมันขายปลีกที่เหมาะสม
เบนซิน 91 เบนซิน 95 ร้อยละ ร้อยละ 40 30 37.3 27.8 25.4 30 26.7 20 17.2 15.9 13.7 20 17.4 12.4 10 10 6.2 ราคา (บาท : ลิตร) ราคา (บาท : ลิตร) น้อยกว่า- 15.99 16.00- 16.99 17.00- 17.99 18.00- 18.99 19.00 ขึ้นไป น้อยกว่า- 15.99 16.00- 16.99 17.00- 17.99 18.00- 18.99 19.00 ขึ้นไป
7
ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับราคาน้ำมันขายปลีกที่เหมาะสม
ดีเซลหมุนเร็ว ร้อยละ 40 30.4 30 21.8 18.3 17.7 20 11.8 10 ราคา (บาท : ลิตร) น้อยกว่า - 12.99 13.99 14.99 15.99 16.00 ขึ้นไป
8
การประหยัดพลังงานของครัวเรือนในปัจจุบัน
ร้อยละ 100 82.3 83.1 78.6 80 มีการประหยัด พลังงาน 60 ไม่มีการประหยัด พลังงาน 40 21.4 17.7 16.9 20 การใช้พาหนะเดินทาง รวม ผู้ใช้รถ ส่วนบุคคล ผู้ใช้รถ สาธารณะ
9
ผลกระทบที่มีต่อครัวเรือนถ้าปล่อยให้ราคาน้ำมัน เป็นไปตามกลไกของตลาดโลก
ร้อยละ 100.0 รวม รายจ่ายสินค้าอุปโภค/บริโภคสูงขึ้น ค่าใช้จ่ายในการเดินทางสูงขึ้น รายได้ไม่พอกับรายจ่าย ทำให้เงินออมลดลง 67.3 29.5 21.8 1.9 หมายเหตุ : ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
10
การส่งเสริมให้รถที่ใช้น้ำมันเบนซิน/น้ำมันดีเซล เปลี่ยนมาใช้ก๊าซธรรมชาติ (NGV)
ร้อยละ 80 53.6 60 52.8 52.7 เห็นด้วย 35.1 32.7 40 ไม่เห็นด้วย 25.0 21.4 ไม่มีความคิดเห็น 14.5 20 12.2 การใช้พาหนะเดินทาง รวม ผู้ใช้รถ ส่วนบุคคล ผู้ใช้รถ สาธารณะ
11
แนวทางการกำหนดมาตรการประหยัดพลังงาน
แนวทางการประหยัดพลังงาน รณรงค์การประหยัดน้ำมัน 70.3 การใช้พลังงานไฟฟ้า อย่างประหยัด 44.3 สนับสนุนให้ใช้ระบบ ขนส่งมวลชน 42.9 จำกัดความเร็วของรถยนต์ 30.1 รณรงค์ให้ใช้รถจักรยาน 25.4 สนับสนุนการใช้น้ำมันสกัดจาก สารธรรมชาติ/ก๊าซ NGV 23.8 กำหนดเวลาเปิด-ปิด สถานีบริการน้ำมัน 18.6 ร้อยละ 20 40 60 80 ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
12
ข้อเสนอแนะ ร้อยละ 100.0 รวม 40.0 60.0 23.9 16.7 ผู้ไม่แสดงความคิดเห็น
ผู้แสดงความคิดเห็น ควบคุมราคาน้ำมันให้เหมาะสม รณรงค์ให้ประชาชนหันมาใช้พลังงานทดแทน เช่น ก๊าซ NGV พลังงานแสงอาทิตย์ ควบคุมราคาสินค้าอุปโภค/บริโภค ควรมีมาตรการ การเปิด-ปิดสถานบันเทิง ควรปล่อยให้ราคาน้ำมันเป็นไปตามกลไกตลาดโลก อื่น ๆ ผู้ไม่แสดงความคิดเห็น 40.0 23.9 16.7 5.3 2.8 0.9 0.5 60.0 หมายเหตุ : ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.