ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การตรวจเท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
การตรวจเท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน พญ. นวลพิศ อินทรเทพ กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
2
ดู
3
ลักษณะภายนอกของเท้า รูปร่างเท้า: ปกติ หรือ ผิดรูป การลงน้ำหนักของเท้า
รูปร่างเท้า: ปกติ หรือ ผิดรูป การลงน้ำหนักของเท้า ความชุ่มชื้นของผิวหนัง จำนวนเส้นขน มีหนังด้านหรือไม่? 4/4/2017
4
วิธีการตรวจเท้า ตรวจเท้าด้วยตนเองทุกวันอย่างน้อยเช้า-เย็น ยกเว้น มีปัญหาทางสายตา อาจให้ญาติหรือผู้ดูแลเป็นผู้ตรวจเท้าให้ จุดที่มองเห็นลำบากอาจใช้อุปกรณ์ช่วย 4/4/2017
5
สัญญาณเตือนความผิดปกติของเท้า
เท้าแดงหลังถอดรองเท้า ตาปลา โดยเฉพาะตาปลาที่มีจุดเลือดออกข้างใต้ ผิวหนังแตก ซอกนิ้วชื้นแฉะ กลิ่นเหม็นเปรี้ยว เล็บผิดปกติ 4/4/2017
6
คลำ
7
วัตถุประสงค์ของการคลำเท้า
รับรู้อุณหภูมิร้อนเย็นของเท้า ความชุ่มชื้น-แห้งของผิวหนังที่เท้า คลำชีพจรเพื่อตรวจหาความผิดปกติของหลอดเลือดส่วนปลาย Dorsalis pedis a. Posterior tibial a. 4/4/2017
8
ตรวจการเคลื่อนไหวของข้อเท้าและเท้า
การกระดกขึ้น-ลงของข้อเท้า การบิดเข้าใน-ออกนอกของข้อเท้า(1:2) การเคลื่อนตัวขึ้นลงของแต่ละนิ้วเท้า หากมีความผิดปกติ จะทำให้การถ่ายเทน้ำหนักขณะเดินผิดปกติได้ 4/4/2017
9
Semmes-Weinstein Monofilament
ตรวจ protective sensation ของเท้า ใช้ 5.07 Semmes-Weinstein Monofilament ในการตรวจที่เท้า 4/4/2017
10
Semmes-Weinstein Monofilament
ตรวจพบจุดผิดปกติ 1 จุด แปลว่า เท้าเบาหวานนั้นสูญเสีย protective sensation ให้ผลบวกลวงในการตรวจเท้าที่บวม หรือเย็นเกินไป ถ้าผลตรวจปกติ ควรตรวจซ้ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทิ้งเมื่อวัสดุ โค้งงอ ใช้นานเกิน 3 เดือน 4/4/2017
11
Semmes-Weinstein Monofilament
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าจะต้องบอกผู้ตรวจเองว่ารู้สึกหรือไม่เมื่อมีการสัมผัส โดยไม่มีการถามนำ กด monofilament โดยให้เส้นเอ็นตั้งฉากกับผิวหนังที่จะตรวจ ออกแรงกดเล็กน้อยจนเอ็นโค้งงอเป็นรูปตัว “C” นาน 1-2 วินาที 4/4/2017
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.