ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKalaya Kawrungruang ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
การทำบันทึกความเห็น นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
2
การทำบันทึกความเห็น ลักษณะบันทึกที่ดี ง่าย (Simplify)
สมบูรณ์ (Quantify) มีเหตุผล (Justify)
3
การทำบันทึกให้ง่าย ใช้แบบให้เหมาะ ย่อให้สั้น สาระสำคัญให้เด่น ความเห็นให้ดี
4
การทำบันทึกให้สมบูรณ์
เนื้อหาให้สมบูรณ์ ข้อมูลให้ครบครัน สร้างสรรค์แนวความคิด ลิขิตให้จับใจ
5
การทำบันทึกให้มีเหตุผล
ดำเนินเรื่องให้ถูก ผูกประเด็นให้จำเพาะ วิเคราะห์ให้จับใจ วินิจฉัยให้เฉียบขาด
6
การเตรียมการทำบันทึกความเห็น
ศึกษาเรื่อง จับประเด็นของเรื่อง วิเคราะห์เรื่อง วินิจฉัยเรื่อง
7
การศึกษาเรื่อง ตา - ดู หู - ฟัง ปาก - ถาม หัว - คิด
ตา ดู หู ฟัง ปาก - ถาม หัว คิด จิต ตั้งมั่นสมาธิ มือ ค้นคว้า
8
สาระสำคัญของเรื่อง ชนิดของเรื่อง ประเด็นที่เป็นปัญหาของเรื่อง
ความเป็นมาของเรื่อง ข้อเท็จจริงประกอบเรื่อง กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ความเป็นไปที่เกี่ยวกับเรื่อง ตัวอย่างที่คล้ายคลึงกับเรื่อง
9
การจับประเด็นปัญหา ความหมาย ประเด็นที่เป็นปัญหา คือ จุดสำคัญของเรื่อง
ที่จะนำมา พิจารณา : ชี้แนะแนวทาง เช่น - ควรเป็นอย่างไร - ควรทำอย่างไร - ควรใช้อย่างไหน พิสูจน์ : ชี้ชัดว่าข้อเท็จจริง - เป็นอย่างไร - เป็นอะไร - ใครทำ - ทำอะไร - ใช่หรือไม่
10
การจับประเด็นปัญหา วินิจฉัย : ชี้ขาดข้อกฎหมายว่า - หมายความว่าอย่างไร
วินิจฉัย : ชี้ขาดข้อกฎหมายว่า - หมายความว่าอย่างไร - เป็นอย่างไร หรือชี้ขาดว่า - ควรอนุมัติหรือไม่ - ควรให้หรือไม่ เหตุที่ต้องจับประเด็นปัญหา
11
เทคนิคการจับประเด็น เรื่องนั้นเป็นเรื่องอะไร เช่น - ขออนุมัติ
- ขออนุมัติ - ขอความเห็นชอบ - เรื่องหารือ - ขอให้ตีความ เรื่องนั้นมีจุดประสงค์อย่างไร เช่น - ให้พิจารณาแนวทางดำเนินการ - พิสูจน์ในข้อเท็จจริงอันใด - วินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายหรือ การใช้ดุลพินิจพิจารณาอนุมัติหรือ ไม่อนุมัติอะไร
12
การวิเคราะห์เรื่อง ความหมาย : เป็นการพิจารณาหาคำตอบประเด็นที่เป็น ปัญหาของเรื่อง โดยใช้หลักเกณฑ์และเหตุผล เช่น ประเด็น : ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่ การวิเคราะห์ : ฟังได้หรือไม่ว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำผิด ประเด็น : ควรอนุมัติโครงการตามเสนอหรือไม่ การวิเคราะห์ : อนุมัติ หรือไม่อนุมัติ
13
วิธีการวิเคราะห์เรื่อง
จะต้องนำข้อมูลประกอบเรื่องมาพิจารณา และหาหลักเกณฑ์/เหตุผลมาสนับสนุน เพื่อ - พิจารณาชี้แนะแนวทางว่าทำอย่างไรดี เพราะเหตุใด - พิสูจน์ชี้ชัดว่า เป็นอะไร หรือใครทำ - วินิจฉัยชี้ขาดว่าเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด
14
หลักเกณฑ์และเหตุผล ประกอบการวิเคราะห์เรื่อง อาจใช้อย่างใด
อย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ประกอบกัน คือ ตรรกวิทยา : หลักความสมเหตุสมผล ตามธรรมชาติ จิตวิทยา : หลักความเป็นไปตามสภาพ ทางจิตใจของคน หลักวิชา : หลักวิชาที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ที่พิจารณา กฎเกณฑ์ : ได้แก่กฎหมาย ระเบียบ มติ ครม. ผลดีผลเสีย : ผลที่จะเกิดขึ้นจากการ ดำเนินการนั้น
15
ระดับมาตรฐาน : แนวทางอันควรจะเคยปฏิบัติ
ความเป็นธรรม : ความเสมอหน้ากัน โดยไม่เลือกปฏิบัติ มโนธรรม : สำนึกในความถูกต้อง สมควรด้วยการพิจารณาอย่างมีสติ ข้อจำกัดต่าง ๆ : วงเงิน, อำนาจ, คน, เศรษฐกิจสังคม ความเหมาะสม : เวลา สถานที่ บุคคล ความเป็นไปได้ : ปฏิบัติได้หรือไม่ นโยบายและ : ที่มีอยู่หรือกำหนดไว้ แผนงาน
16
การวิเคราะห์ การกระทำในกระบวนการทั้ง 4 ขั้นตอน - แยกประเด็น
- แยกประเด็น - หาส่วนประกอบ - เปรียบเทียบกับมาตรฐาน - ประเมินค่า เพื่อ ๏ หาความจริง ๏ ทราบผล ๏ ตัดสินใจ ๏ เสนอแนะแนวทาง
17
เทคนิค : ต้องทำตามขั้นตอน
เทคนิค : ต้องทำตามขั้นตอน - มองภาพรวม - แยกประเด็น - หาส่วนประกอบแต่ละประเด็น - เปรียบเทียบส่วนประกอบกับมาตรฐาน - ประเมินค่าแต่ละประเด็น - ประเมินผลรวม
18
การวินิจฉัยเรื่อง คือ การเสนอข้อยุติของเรื่อง
ประเมินคุณค่าทางเลือก นำคุณค่าทางเลือกมาเปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกทางที่มีคุณค่ามากที่สุด
19
การประเมินคุณค่าทางเลือก
ความเป็นไปได้ การบรรลุวัตถุประสงค์ ผลกระทบ ความเสี่ยง
20
กิจกรรม ให้กลุ่มศึกษาเรื่อง
เสนอประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะ เพื่อเตรียมการดำเนินการต่อไป
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.