ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBut Singhapat ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
โดยอัยการบุญเลิศ ฮายุกต์
2
พยานหลักฐาน คือ : สิ่งที่ต้องนำมาแสดงพิสูจน์ถึงข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เป็นประเด็นข้อพิพาทในศาลว่ามีอยู่จริงหรือไม่อย่างไร
3
หลักทั่วไป เกี่ยวกับการรวบรวมพยานหลักฐาน มาตรา ๒๒๖ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาบัญญัติว่าพยานวัตถุ, พยานเอกสาร หรือพยานบุคคล ซึ่งน่าจะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยมีความผิด หรือบริสุทธิ์ ให้อ้างเป็นพยานหลักฐาน ได้ แต่ต้องเป็นพยานชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจ มีคำมั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวงหรือโดยมิชอบประการอื่น
4
พยานหลักฐานแบ่งเป็น พยานบุคคล : ถ้อยคำของบุคคลที่จะมาให้ การต่อศาล
พยานบุคคล : ถ้อยคำของบุคคลที่จะมาให้ การต่อศาล พยานเอกสาร: ข้อความในหนังสือ จะเป็น ลายลักษณ์อักษรที่ศาลสามารถตรวจดูได้ พยานวัตถุ : สิ่งใดๆ ที่ศาลตรวจดูรูปลักษณะได้
5
หน้าที่นำสืบในคดีอาญา
โจทก์ ซึ่งเป็นผู้กล่าวหาว่า จำเลยกระทำความผิดตามข้อกล่าวหาต้องรวบรวมนำพยานหลักฐานมาพิสูจน์ ให้ศาลเห็นว่า จำเลยมีความผิดจริงตามฟ้อง
6
การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
ความน่าเชื่อถือตามพยานแต่ละชิ้นที่จะนำเสนอต่อศาล
7
พยานหลักฐานที่รับฟังได้ และ พยานหลักฐานที่รับฟังไม่ได้
พยานหลักฐานที่รับฟังได้ และ พยานหลักฐานที่รับฟังไม่ได้
8
คดีแพ่ง ศาลจะให้ดุลพินิจพิจารณาว่าพยานหลักฐาน ของฝ่ายใดน่าเชื่อถือกว่ากัน คดีอาญา ศาลต้องดูพยานหลักฐานให้หนักแน่นมั่นคง เชื่อถือได้ โดยปราศจากเหตุอันควรสงสัยว่าจำเลยเป็นผู้กระทำความผิดคดีนั้น จึงจะพิพากษาลงโทษจำเลยได้
9
ความมีอยู่ของกฎหมาย ตั้งแต่กฎกระทรวงขึ้นไป เป็นปัญญาข้อกฎหมายที่ศาลรู้ได้เอง
(รัฐธรรมนูญ, พระราชบัญญัติ, พระราชกฤษฎีกา,ประกาศคณะปฏิวัติ, กฎกระทรวงทางปฎิบัติ มักถ่ายแนบมาด้วยเพื่อไม่ให้ศาลวินิจฉัยผิดเพื่อสะดวก)
10
ปัญหาข้อกฎหมาย ศาลรับรู้ได้เองไม่ต้องนำพยานหลักฐานมาสืบ ปัญหาข้อเท็จจริง ต้องนำพยานหลักฐานมาสืบความมีอยู่
11
กฎหมายที่ต่ำกว่ากฎกระทรวง เช่นประกาศกระทรวง, ประกาศคณะกรรมการที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายแม่บท ระเบียบของคณะกรรมการชุดใดที่กฎหมายให้อำนาจออกได้ เป็นปัญหาข้อเท็จจริงที่ต้องนำสืบความมีอยู่แม้โดยสภาพเป็นกฎหมาย ก็ตาม
12
กฎหมายท้องถิ่น ศาลฎีกาวางแนวว่าถือเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่ศาลตรวจดูได้เองไม่ต้องนำสืบ เช่นเทศบัญญัติ
13
การรับฟังพยานบุคคล ป.วิแพ่ง มาตรา ๙๕ ห้ามฟังพยานบอกเล่า
การรับฟังพยานบุคคล ป.วิแพ่ง มาตรา ๙๕ ห้ามฟังพยานบอกเล่า
14
พยานเอกสาร โดยหลักให้รับฟังเฉพาะต้นฉบับเอกสาร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.