ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYa chai Cheenchamras ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
บทที่ 4 การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
2
การวิเคราะห์ (Analysis Phase)
ระยะที่ 2: การวิเคราะห์ (Analysis Phase) ต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า... ใคร ? คือผู้ใช้ระบบ มีอะไรบ้าง ? ที่ระบบต้องดำเนินการ
3
ระยะที่ 2: การวิเคราะห์ (ต่อ)
วัตถุประสงค์หลักของระยะการ วิเคราะห์ก็คือ จะต้องศึกษาและทำความ เข้าใจในความต้องการต่างๆ ที่ได้ รวบรวมมา
4
ระยะที่ 2: การวิเคราะห์ (ต่อ)
P. 130 กิจกรรมสำคัญของระยะนี้คือ 1. ทำความเข้าใจกับระบบงานเดิม 2. กำหนดสิ่งที่ต้องการปรับปรุง/เพิ่มเติม 3. พัฒนาแนวความคิดของระบบใหม่
5
การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
SA. มีความจำเป็นต้องรู้ถึงสิ่งเหล่านี้ Who? When? Where? Why? How? What?
6
การรวบรวมความต้องการ (ต่อ)
ยูสเซอร์ เป็นบุคคลที่ SA. จะต้องเข้าไป ขอข้อมูลเพื่อทราบถึงปัญหา เพื่อนำมา ประกอบการวิเคราะห์ระบบ
7
การรวบรวมความต้องการ (ต่อ)
ดังนั้น จึงต้องทำความเข้าใจกับยูสเซอร์ เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายหลัก ที่ต้องการ ทราบถึงปัญหา เพื่อนำไปพัฒนาระบบให้ดี ยิ่งขึ้นกว่าเดิม
8
การรวบรวมความต้องการ (ต่อ)
การได้รับความร่วมมือที่ดีจากยูสเซอร์ ย่อมส่งผลดี เนื่องจากยูสเซอร์เป็นผู้ที่ปฏิบัติ กับระบบโดยตรง ทำให้ทราบปัญหาต่าง ๆ ได้ดี
9
คุณสมบัติของยูสเซอร์ที่ดี
1. สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงาน ของระบบปัจจุบันที่ดำเนินงานอยู่ได้ 2. สามารถชี้แจงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ในระบบได้
10
คุณสมบัติของยูสเซอร์ที่ดี (ต่อ)
3. สามารถระบุความต้องในระบบใหม่ได้ 4. ควรจัดเตรียมเอกสาร หรือรายงานที่ เกี่ยวข้องให้แก่นักวิเคราะห์ระบบ
11
คุณสมบัติของยูสเซอร์ที่ดี (ต่อ)
5. ควรให้ความร่วมมือกับ SA. รวมถึงมี ความปรารถนาดีต่อการปรับปรุงระบบ งานเดิมที่ดำเนินการอยู่ให้มีทิศทางที่ดี ยิ่งขึ้นกว่าเดิม โดยปราศจากอคติ
12
คุณสมบัติของยูสเซอร์ที่ดี (ต่อ)
6. ควรมีส่วนร่วมต่อโครงการพัฒนา ระบบใหม่ รวมถึงสามารถเสนอแนะ แนวทางการแก้ไขปัญหาแก่ SA. ได้
13
บุคคลที่มีส่วนร่วมต่อโครงการพัฒนาระบบใหม่ (Stakeholder)
14
ชนิดของความต้องการ 1. Functional Requirements
P. 134 1. Functional Requirements เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการทำงานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน
15
ชนิดของความต้องการ (ต่อ)
2. Non-Functional Requirements เกี่ยวข้องกับการกำหนดคุณภาพการทำงานของ S/W เช่น ระบบสามารถรองรับการใช้งานบนเครือข่ายสูงสุดกี่ยูสเซอร์ /เวลาตอบสนองการใช้งาน เป็นต้น
16
เทคนิคการรวบรวมความต้องการ
1. การรวบรวมเอกสาร 2. การสัมภาษณ์ และสนทนากับยูสเซอร์ 3. การสังเกตุการณ์จากกระบวนการ เดินเอกสารในธุรกิจ (Workflow p.150)
17
เทคนิคการรวบรวมความต้องการ (ต่อ)
4. การแจกแบบสอบถาม 5. การวางแผนความต้องการร่วมกัน (JAD)
18
SA. จะนำความต้องการ(Requirements) ของยูสเซอร์มาวิเคราะห์ เพื่อสรุปเป็น ข้อกำหนดลงในเอกสารที่เรียกว่า
Requirements Specification
20
ตัวอย่าง User Requirements
หน้า 137 ตัวอย่าง Requirements Specification หน้า 139
21
แบบฟอร์มมาตรฐานของ Requirements Specification
22
ความสำคัญของระยะการวิเคราะห์ คือ ต้องวิเคราะห์ถึงความต้องการที่ แท้จริง เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหา ได้ตรงจุด
23
สรุปกิจกรรมของระยะการวิเคราะห์
1. วิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน 2. รวบรวมความต้องการและนำมา วิเคราะห์สรุปเป็นข้อกำหนดที่ชัดเจน 3. นำข้อกำหนดมาพัฒนาเป็นความ ต้องการของระบบใหม่
24
สรุปกิจกรรมของระยะการวิเคราะห์ (ต่อ)
4. สร้างแบบจำลองกระบวนการ (บทที่ 5) (Data Flow Diagram: DFD) 5. สร้างแบบจำลองข้อมูล (บทที่ 6) (Entity Relationship Diagram: ERD)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.