ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
การพัฒนาคุณภาพการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์อย่างครบวงจร กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน นางสาวกอบกุล สุคนธวารินทร์นางสาวจุลินดา พรมเสน นางนุสราพร ณ ราช นางสาวสุรีรัตน์ สิทธิชัย
2
ความเป็นมาปัญหา ปี38 เริ่มค้นหาโรคเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัจจัยเสี่ยงพบอุบัติการณ์เกิดDM in preg ร้อยละ 3.49 ความครอบคลุมของการคัดกรองเบาหวานระยะตั้งครรภ์ร้อยละ (ปี48) พบมารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์โดยขาดการรักษาเป็นสาเหตุทำให้ทารกตายเปื่อยในครรภ์ จำนวน 1 ราย(ปี 50 ) และ 2 ราย (ปี 51 ) โรงพยาบาลหนองจิกเป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง มีผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด ราย ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จำนวน ราย คิดเป็นร้อยละ 90 ซึ่งจะมีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพียง จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 โดยจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจาก 3,099 บาท ในปี เป็น 3,546 บาท ในปี ทั้งๆที่ในช่วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ทางโรงพยาบาลได้มีการพั
3
ความเป็นมาปัญหา ▲ ได้สุ่มติดตามข้อมูลเวชระเบียน(OPDcard)การนัด F/U
หญิงหลังคลอดที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ จำนวน 45 ราย พบว่า - ไม่ได้รับการติดตาม 40 ราย(88.89%) - ได้รับการติดตามรักษา 5 ราย(11.11%) ▲เป็นโรคเบาหวาน Type ราย - ควบคุม FBS ไม่ได้ ราย โรงพยาบาลหนองจิกเป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง มีผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด ราย ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จำนวน ราย คิดเป็นร้อยละ 90 ซึ่งจะมีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพียง จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 โดยจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจาก 3,099 บาท ในปี เป็น 3,546 บาท ในปี ทั้งๆที่ในช่วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ทางโรงพยาบาลได้มีการพั
4
ความเป็นมาปัญหา ▲ผู้ป่วยที่เหลือได้ติดตามมาเจาะเลือดทั้ง 40 ราย
▲ผู้ป่วยที่เหลือได้ติดตามมาเจาะเลือดทั้ง 40 ราย -พบ DM 11 ราย(27.50%) -พบImpaired GTT ราย (32.50%) -พบระดับน้ำตาลปกติ 16 ราย (40.00%) ▲ ค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานเฉลี่ย/ราย ปี50 ผู้ป่วยนอก บาท/ราย ผู้ป่วยใน บาท/ราย โรงพยาบาลหนองจิกเป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง มีผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด ราย ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จำนวน ราย คิดเป็นร้อยละ 90 ซึ่งจะมีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพียง จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 โดยจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจาก 3,099 บาท ในปี เป็น 3,546 บาท ในปี ทั้งๆที่ในช่วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ทางโรงพยาบาลได้มีการพั
5
สรุปปัญหา ทารกตายเปื่อยจากสาเหตุเบาหวานขณะตั้งครรภ์ขาดการคัดกรองและขาดการรักษา ขาดการติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ GDM หลังคลอด โรงพยาบาลน่านยังไม่มีแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนและเป็นในทางเดียวกัน
6
1. เพื่อพัฒนาหาแนวทางการดูแลสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาหาแนวทางการดูแลสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 2. เพื่อศึกษาการรับรู้และ พฤติกรรมการดูแลตนเองของ สตรีหลังคลอดที่มีภาวะ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ 3. เพื่อพัฒนาเครือข่ายในการ ติดตามสตรีหลังคลอดที่มีภาวะ เบาหวานขณะตั้งครรภ์
7
ตั้งแต่ 1 เมษายน – 30 กันยายน 2551
ระยะการศึกษา ตั้งแต่ 1 เมษายน – 30 กันยายน 2551 ระยะที่ 1: ใช้การสัมภาษณ์ เชิงลึก กลุ่ม ตัวอย่างได้แก่ แพทย์ พยาบาลห้องฝากครรภ์ พยาบาลชุมชน นักโภชนากร เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย ทั้งหมด 18 ราย นำข้อมูลที่ได้มาพัฒนาหาแนวทาง ในการคัดกรอง การวินิจฉัย การ รักษา สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ GDM
8
กำหนด Risk for GDM ในรพ.น่านและเครือข่าย
1 อายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไป 6 เคยคลอดทารก น้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม 2 อ้วน หรือ BMI ก่อนตั้งครรภ์ > 27 kg/m2 สูง =……. ซม /น้ำหนัก ก.ก / BMI=…….. 7 เคยคลอด ทารก ตายคลอด ( stillbirth ) 3 ญาติสายตรงเป็นเบาหวาน (พ่อ แม่ พี่ น้อง) 8 ท้องนี้มีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์(PIH) 4 ครรภ์ก่อนเป็น GDM (Class A 1 และ A 2 ) 9 ท้องนี้มีภาวะครรภ์แฝดน้ำ (polyhydramnios) 5 เคยคลอดทารกพิการโดยไม่ทราบสาเหตุ 10 พบน้ำตาลในปัสสาวะตั้งแต่ 1+ ขึ้นไป
9
พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission
screening risk (10ข้อ) มีRisk ไม่มี Risk ANC ตามปกติ 50 gm GCT GCTซ้ำ GA 24-28WKS >140 mg% <140 mg% > 140mg% < 140mg% 100 gm OGTT ผิดปกติ <120mg% GDM class A1 เจาะ 75 gm- 2 hrPP >120mg% พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission GDM class A2
10
พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission
screening risk (10ข้อ) มีRisk ไม่มี Risk ANC ตามปกติ 50 gm GCT GCTซ้ำ GA 24-28WKS >140 mg% <140 mg% > 140mg% 100 gm OGTT ผิดปกติ <120mg% GDM class A1 เจาะ 75 gm- 2 hrPP >120mg% พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission GDM class A2
11
พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission
screening risk (10ข้อ) มีRisk ไม่มี Risk ANC ตามปกติ 50 gm GCT GCTซ้ำ GA 24-28WKS >140 mg% <140 mg% > 140mg% < 140mg% 100 gm OGTT ปกติ ผิดปกติ <120mg% GDM class A1 เจาะ 75 gm- 2 hrPP >120mg% พบแพทย์ ให้การรักษาหรือ Admission GDM class A2
12
ความครอบคลุมของการคัดกรอง GDM รพ.น่าน
13
จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ปี 51-55
ราย
14
ระยะที่ 2 ▲ ศึกษาการรับรู้และพฤติกรรมของ สตรีหลังคลอดที่มีภาวะ GDM: โดย การสัมภาษณ์ เชิงลึก และสนทนา กลุ่ม จำนวน 17 ราย คือ สตรี GDM หลังคลอด ที่อาศัยในเขต อำเภอ เมืองน่าน จังหวัดน่าน วิเคราะห์ความถูกต้องของข้อมูล โดยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหาแบบ สามเส้า
15
ข้อค้นพบ ▲ สตรีหลังคลอดที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ขาดความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่ถูกต้อง เช่น บริโภคอาหารไม่ถูกสัดส่วน ออกกำลังกายไม่ถูกต้อง ▲ เจ้าหน้าที่ขาดระบบการติดตามระดับน้ำตาลหลังคลอด
16
พัฒนาระบบการติดตามดูแลสตรี หลังคลอดที่เป็น GDM
ระยะที่ 3 พัฒนาระบบการติดตามดูแลสตรี หลังคลอดที่เป็น GDM ▲ คืนข้อค้นพบ ให้กับ เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ ▲ ร่วมประชุมกับเครือข่าย โรงพยาบาลน่าน และให้ความรู้ เจ้าหน้าที่เรื่องภาวะเบาหวานขณะ ตั้งครรภ์และการติดตามหลังคลอด ▲ จัดทำแนวทางการติดตาม FBS 6 สัปดาห์หลังคลอด
17
พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้“ DM in preg ”
▲ 18กันยายน2551 แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลน่านและเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย อ.เมือง ข้อเสนอแนะให้ผู้ดูแลหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและให้สอดคล้องกับบริบท
18
ให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสตรีหลังคลอด ที่มีภาวะ GDM ทุก 1 ปี
สาธิตการออกกำลังกาย และรับประทานอาหาร ความรู้อยู่ระดับปานกลาง ความพึงพอใจ > ร้อยละ80
19
บัตรนัดตรวจภาวะเบาหวานหลังคลอด(เฉพาะGDM)
นัดตรวจที่ รพ.น่าน นัดตรวจที่อื่น วันที่นัด การเตรียมตัวก่อนการตรวจ 1.งดอาหารและน้ำตั้งแต่เที่ยงคืนก่อนวันตรวจ 2.เจาะเลือดก่อนอาหาร(FPG) 3.ดื่ม50%Glucose 150 มล. 4.เจาะเลือด(PG) หลังดื่ม Glucose 2ชั่วโมง ผลการตรวจ FPG=……………mg% 2h PG=………….mg% สรุปผล ปกติ(FPG<110mg% , 2h - GTT<140 mg%) Impaired GTT(FPG= mg% หรือ 2h - GTT= mg%) DM (FPG>126mg% หรือ 2h GTT>200 mg%)
20
FLOW การติดตาม GDM หลังคลอด
รพ.ชุมชน นัด FUที่รพ.น่าน คลินิก นัดเจาะที่คลินิก หรือรพ.ชุมชน ผู้ป่วย GDM คลอดรพ.น่าน FU.6 wks…..> FBS ทุก1ปี > DTX /FBS
21
ร้อยละติดตามระดับ FBS
พบ DM type 2 ปี52-55= 2, 4,4,และ 2 ราย
22
บทเรียนที่ได้รับ การค้นหาภาวะ GDM.ในสตรีตั้งครรภ์อย่างครอบคลุม และให้การรักษา จะสามารถลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะ ทารกตายปริกำเนิดได้ การรับรู้และความเชื่อที่ถูกต้องจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะสามารถป้องกันความเสี่ยงในการเกิดเบาหวานในอนาคตได้และกลุ่มเสี่ยงควรมีการติดตามทุกปีเมื่อพบสามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที
23
ขอบคุณ...
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.