งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
บริการสุขภาพไร้รอยต่อ นพ.ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

2 Continuum of care Integration of care Seamless care Coordination of care Case management Discharge plan Home Health care

3 First Page "Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat. Duis aute irure dolor in reprehenderit in voluptate velit esse cillum dolore eu fugiat nulla pariatur. Excepteur sint occaecat cupidatat non proident, sunt in culpa qui officia deserunt mollit anim id est laborum."

4

5 หากเป็นโรคเรื้อรัง จะพบแพทย์ 16 คน
ใน 1 ปี พบแพทย์ปีละ 7 คน หากเป็นโรคเรื้อรัง จะพบแพทย์ 16 คน ผู้ป่วยร้อยละ 49 ถูกส่งต่อจากแพทย์ในหน่วยปฐมภูมิไปหา แพทย์เฉพาะทางโดยไม่มีประวัติการรักษาติดตัวไปด้วย แพทย์ในหน่วยปฐมภูมิได้รับข้อมูลตอบกลับจากแพทย์เฉพาะทาง เพียง ร้อยละ 55 Coordination between primary care physicians and specialists ผู้ป่วยร้อยละ 50 กลับบ้านไปโดยไม่เข้าใจสิ่งที่แพทย์บอกกับตนเอง ผู้ป่วยเพียงร้อยละ 9 มีส่วนร่วมในตัดสินใจด้านการดูแลรักษา ร้อยละ 75 ของแพทย์ ไม่ได้แจ้งผลการตรวจ (ที่ปกติ) ร้อยละ 33 ไม่ได้แจ้งผลการตรวจที่ผิดปติ

6 อุปสรรค ต่อการบริการแบบไร้รอยต่อ Powerpoint Templates

7 อุปสรรค 1 : การกำหนดบทบาทหน้าที่ กำหนดคนรับผิดชอบ
เล่าเรื่อง 1. คนป้อนข้าวยาย 2. เล่าเรื่องการรักษาใน รพ. แพทย์กระดูกไม่จ่ายยาความดัน 3.เล่าเรื่องรับยาความดัน กับยาโรคหัวใจคนละจุดบริการ

8 รอยต่อ(Seam) & การซ้อนเหลื่อม(Overlap)
การลดรอยต่อ และทำให้รอยต่อมีความแข็งแรงก็ต่อเมื่อต้องเป็นวัสดุเดียวกัน หากเป็นวัสดุคนละอย่างแล้วอาจจะต้องการการซ้อนเหลื่อมก้นจึงจะเกิดความแข็งแรง

9 การทำงานร่วมระหว่างวิชาชีพ
การสร้างระบบสุขภาพมีความจำเป็นที่จะต้องอาศัยการทำงานที่ “ซ้อนเหลื่อมกัน” อย่างเพียงพอ โดยเฉพาะการทำงานที่มีความหลากหลายในวิชาชีพของตนเอง ที่ต้องไม่ถื่อว่าเป็นการก้าวก่ายหน้าที่กัน Multidisciplinary สหสาขาวิชาชีพ Interdisciplinary การทำงานร่วมระหว่างวิชาชีพ

10 2.ความเหนื่อยล้า-ข้อจำกัดด้านเวลา ของการให้บริการปฐมภูมิ/หมอครอบครัว
ตรวจ ให้การรักษา Short term care Long term care ประสานงาน เวลาที่เหมาะสม 7.4 ชม./วัน สำหรับการให้คำแนะนำ 10.6 ชม./วัน สำหรับ long term care

11 3.ขาดความเชื่อมโยงของเวชระเบียน
ร้อย 25 ของโรงพยาบาลใช้ E-medical record systems ลดค่าใช้จ่าย ลดการเดินทาง ลดการตรวจรักษาที่ซ้ำซ้อน

12 จำนวนใบ Refer ตอบกลับ รพ.ชุมชน 16 แห่ง ในเขต จ.เชียงราย
เดือน จำนวนที่ส่ง (ราย) มีเฉพาะใบสีชมพู (ใบส่งตัวมา รพศ.) มีใบสีชมพู-เหลือง (ใบส่งตัวมา รพศ.และใบตอบกลับ) จำนวนใบตอบกลับ (ไม่ครบถ้วน) ชื่อ รพ.ที่ส่งกลับ ชื่อ-สกุล ผู้ป่วย มิ.ย. 1,470 46.46% 53.54% 50.31% ก.ค. 1,421 17.59% 82.41% 49.10%

13 ระบบการตอบกลับใบ refer ทาง e-office โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
ศูนย์ส่งต่อ(refer back) โทร ต่อ 2161 ใบ refer ทุกใบ (ผู้ป่วยใน) เวชระเบียน scan ศูนย์คอม ดึง file ส่ง e-office ให้ รพช.ทุกวัน (เวลา น.เป็นต้นไป) ธุรการ รพช.รับเอกสาร เสนอตามระบบ

14 4.ระบบการให้ค่าตอบแทน เน้นปริมาณที่จำเพาะ (ไม่กล่าวถึงคุณภาพ)
ไม่มีค่าตอบแทน Discharge plan การส่งต่อระหว่าง รพ. หรือ ส่งกลับบ้าน การประสานงาน

15 5.ขาดการบูรณาการในระบบ Lack of integrated systems of care

16 Start ห้องยา ห้อง X-ray Finish ห้อง lab ห้องการเงิน ห้องตรวจเวชกรรม
ห้องให้คำปรึกษา ห้อง lab ห้องตรวจอายุกรรม ห้องยา ห้องตรวจเวชกรรม ห้องตรวจกุมาร ห้องเวชระเบียน ห้องตรวจสอบสิทธิ ห้องการเงิน ห้อง X-ray Finish

17 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

18 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
1.การใช้ระบบสารสนเทศ

19

20

21 แนวคิด : การเชื่อมโยงระบบสารสนเทศระหว่างหน่วยงาน
รพ.เชียงราย HOMC MReccord HOSxP JHCIS Hospital OS นำร่องโดยระบบ Refer Link

22 2. การกำหนดข้อตกลงร่วมกัน (บูรณาการ)
แนวทางการจัดระบบบริการ แนวทางการรักษา แนวทางการส่งต่อ แนวทางการจัดส่งข้อมูล ฯลฯ

23 Start ห้องยา ห้อง X-ray Finish ห้อง lab ห้องการเงิน ห้องตรวจเวชกรรม
ห้องให้คำปรึกษา ห้อง lab ห้องตรวจอายุกรรม ห้องยา ห้องตรวจเวชกรรม ห้องตรวจกุมาร ห้องเวชระเบียน ห้องตรวจสอบสิทธิ ห้องการเงิน ห้อง X-ray Finish

24 คลินิกรักษ์ปอด Start Finish X-ray

25 3. Advance practiced Nurse

26 4. การจัดระบบสนับสนุนผู้ป่วย/ญาติ
กระตุ้นให้ care giver เป็นผู้ประสานงาน กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ

27

28

29 โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ผู้สูงอายุ

30 4. ทีมจิ๋ว(Teamlet) เสริมศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโดยเสริมศักยภาพ ทีมย่อย
เช่น แพทย์ 1(รักษา)+ เจ้าหน้าที่ 1(ประสานงาน)

31 กรอบความคิด “บริการสุขภาพครบวงจร”
นวก./GN ประเมิน วช. เอื้ออาทร อบรม NP จนท. มีกำลังใจ จนท. ครบถ้วน จนท. มีความรู้ ค่าตอบแทน ตามปริมาณงาน เชิงรุก อบรม 5 เสือ ปฐมภูมิ จพสช. เรียน GN ทีมงานสาธารณสุข มีสมรรถนะ เรียน SRM นักสุขภาพ ครอบครัว กองทุน คุณภาพ IT/GIS คุณภาพ จนท.:ประชาชน 1:1,250 รพสต. คุณภาพ อปท. ร่วมมือ ระบบส่งต่อ เอื้ออาทร เร่งรัดงาน เขตเมือง รพศ./ท. รับงานทุติย ภูมิ & ตติยภูมิเต็มที่ การเข้าถึงบริการ สุขภาพที่มีคุณภาพ รพช. ต่องานทุติย ภูมิแข็งขัน ประชาชนมีสุขภาวะ 5

32 5. ระบบปฐมภูมิที่เข้มแข็ง
ใกล้ชิดผู้ป่วยที่สุด เป็นจุดประสานงาน (Coordinate)และเชื่อมต่อ (Hub)

33 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
ขอบคุณครับ นพ.ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google