ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยVuthisit Monkoltham ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบ เดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูล ที่ต้องการได้ อย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจเปรียบฐานข้อมูลเสมือนเป็น electronic filing system
2
องค์ประกอบของ Database
3
Bit ( บิต ) บิต (bit) ย่อมาจาก Binary Digit ข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ 1 บิต จะแสดงได้ 2 สถานะคือ 0 หรือ 1 การเก็บข้อมูลต่างๆได้จะต้องนำ บิต หลายๆ บิต มาเรียงต่อกัน เช่นนำ 8 บิต มาเรียง เป็น 1 ชุด เรียกว่า 1 ไบต์ เช่น 10100001 หมายถึง ก 10100010 หมายถึง ข
4
เขตข้อมูล (field) เมื่อเรานำ ไบต์ (byte) หลายๆ ไบต์ มาเรียงต่อ กัน เรียกว่า เขตข้อมูล (field) เช่น Name ใช้ เก็บชื่อ LastName ใช้เก็บนามสกุล เป็นต้น 10001100 10001111 10101010 10011110 10011110.. = พอลล่า (Name) 10001110 ……………………………………………… = เทเลอร์ (LastName)
5
ระเบียน (record) เมื่อนำเขตข้อมูล หลายๆ เขตข้อมูล มาเรียงต่อ กัน เรียกว่า ระเบียน (record) เช่น ระเบียน ที่ 1 เก็บ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ของ นักเรียน คนที่ 1 เป็นต้น ชื่ออาชีพอายุ พอลล่า เทเลอร์นักแสดง 25 อุดร สมบัติมากขายกล้วยแขก 45 วัลภา อุดมโชคขายล๊อตตารี่ 30 Record ที่ 1 Record ที่ 2 Record ที่ 3
6
แฟ้มข้อมูล การเก็บระเบียนหลายๆระเบียน รวมกัน เรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) เช่น แฟ้มข้อมูล นักเรียน จะเก็บ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ของนักเรียน จำนวน 500 คน เป็นต้น รหัสลูกค้ารหัสสินค้าจำนวนที่ ซื้อ 1001A0012 1002A0021 แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า แฟ้มข้อมูล stock สินค้า รหัสลูกค้าชื่อที่อยู่ 1001 พอลล่า เท เลอร์ สุขุมวิท 75 1002 พัชราภา ไชยเชื้อ ดินแดง 115 รหัสสิน ค้า ราคา จำนวน คงเหลือ A001550100 A0021401500
7
การจัดเก็บ แฟ้มข้อมูล หลายๆ แฟ้มข้อมูล ไว้ ภายใต้ระบบเดียวกัน เรียกว่า ฐานข้อมูล หรือ Database แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า แฟ้มข้อมูล stock สินค้า ระบบฐานข้อมูล E-Commerce
8
การเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลจึงจำเป็นต้องมีระบบการ จัดการฐานข้อมูลมาช่วยเรียกว่า database management system (DBMS) ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้ สามารถจัดการกับข้อมูล ตามความต้องการได้ ในหน่วยงานใหญ่ๆอาจมีฐานข้อมูลมากกว่า 1 ฐานข้อมูลเช่น ฐานข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูลลูกค้า ฐานข้อมูลสินค้า เป็นต้น
9
ข้อมูลลูกค้า : Register.php
10
ภาพรวมของ myEcomDB
11
ตัวอย่างข้อมูลใน MyEcomDB Table : Customer Table : Order Table : Payment
12
ขั้นตอนการสร้างฐานข้อมูล DataBase ด้วย โปรแกรม PHPMyAdmin เรียกโปรแกรม phpMyAdmin โดยเรียกที่ url :http://localhost/phpmyadmin/index.phphttp://localhost/phpmyadmin/index.php แล้วกรอก username และ password ในการเข้าใช้ database User Name : root Password : 123456 ** ดูต่อตามใบงานที่ 2
13
การเขียนโปรแกรม PHP ติดต่อกับ Database สร้าง connection ไปยังฐานข้อมูล สร้าง sql statement สร้าง sql query
14
สร้าง connection ไปยังฐานข้อมูล PHP Program -Web page (HTML) - Web page (PHP) mySQL Database ตาราง Customer ตาราง Order connection
15
สร้าง SQL Statement Insert statement : เพิ่ม record ลงในตาราง Delete statement : ลบ record จากตาราง Update Statement : ปรับปรุงข้อมูลใน record ในตาราง Select Statement : เรียกดูข้อมูล record ใน ตาราง
16
Insert statement : เพิ่ม record ลงในตาราง รูปแบบ Insert into ชื่อตาราง ( ชื่อฟิวด์ 1, ชื่อฟิวด์ 2, ชื่อฟิวด์ 3) Values (value1, value2, value3); ตัวอย่าง 1 Insert into Student (ID, Name, Level) Values (‘5044XX’, ‘ พอลล่า เทเลอร์ ’, ‘ ปี 4’); IDNameLevel 5044XX พอลล่า เทเลอร์ ปี 4 Student Table
17
Insert statement : เพิ่ม record ลงในตาราง ตัวอย่าง 2 Insert into Student (ID, Name, Level) Values (‘5044YY’, ‘ เคน ธีระเดช ’, ‘ ปี 2’); IDNameLevel 5044XX 5044YY พอลล่า เทเลอร์ เคน ธีระ เดช ปี 4 ปี 2 Student Table
18
Delete statement : ลบ record จาก ตาราง รูปแบบ Delete from ชื่อตาราง Where ( ชื่อฟิวด์ = ‘value’); ตัวอย่าง 1 Delete from Student Where (ID = ‘5044YY’); IDNameLevel 5044XX 5044YY พอลล่า เทเลอร์ เคน ธีระ เดช ปี 4 ปี 2 ลบ record นี้ออก ->
19
Delete statement : ลบ record จาก ตาราง ตัวอย่าง 2 Delete from Student Where (ID = ‘5044XX’); IDNameLevel 5044XX พอลล่า เทเลอร์ ปี 4 ลบ record นี้ออก ->
20
Update Statement : ปรับปรุงข้อมูลใน record ในตาราง รูปแบบ Update ชื่อตาราง Set ( ชื่อฟิวด์ = ‘Value’) Where ( ระบุ record ที่ ต้องการปรับปรุง ) ; ตัวอย่าง 1 Update Student Set (Name = “ อั้ม พัชราภา ”) Where (ID = ‘5044XX’); Student Table IDNameLevel 5044XX 5044YY อั้ม พัช ราภา เคน ธีระ เดช ปี 4 ปี 2 แก้ไข record นี้ ->
21
Update Statement : ปรับปรุงข้อมูลใน record ในตาราง ตัวอย่าง 2 Update Student Set (Name = “ อั้ม อธิชาติ ”) Where (ID = ‘5044YY’); Student Table IDNameLevel 5044XX 5044YY อั้ม พัช ราภา อั้ม อธิ ชาติ ปี 4 ปี 2 แก้ไข record นี้ ->
22
Select Statement : เรียกดูข้อมูล record ในตาราง รูปแบบ Select ชื่อฟิวด์ 1, ชื่อฟิวด์ 2, ชื่อฟิวด์ 3 From ชื่อตาราง Where ( ระบุ record ที่ต้องการ เรียกดู ) ; ตัวอย่าง 1 Select ID, Name From Student Where Level = ‘ ปี 2’ Student Table IDName 5044YY เคน ธีระ เดช Level = ‘ ปี 2’
23
Step3: สร้าง SQL Query เป็นการส่งคำสั่ง SQL Statement ให้ไป ประมวลผลหรือทำงานที่ Database
24
สร้าง Connection สร้าง SQL Statement ส่งคำสั่งไปยัง Database ให้ประมวลผลตามคำสั่ง
25
Register.php [ บันทึกข้อมูล ] สร้าง database(myEcomDB), สร้างตาราง customer ( ตามใบงานที่ 2) เขียน Source Code PHP ให้มีการส่งค่าข้อมูล จากหน้า Register.php แบบ POST ไปยังไฟล์ AddCustomer.php ซึ่งจะเป็นไฟล์ที่ทำการ บันทึกข้อมูลลงฐานข้อมูล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.