งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง องค์การตลาด ข้อมูลทั่วไป พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม สังกัด : กระทรวงมหาดไทย ประธานกรรมการ : นายสมเจตน์ ทิณพงษ์ กรรมการผู้แทน กค. : น.ส.ศิริศักดิ์ หาระบุตร Website : โทร คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9) จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน (ม. 6) การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง (ไม่ใช้บังคับแก่กรรมการของบริษัทจำกัด) แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวง การคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด ผู้อำนวยการ (CEO) : นายธีธัช สุขสะอาด สัญญาจ้างลงวันที่ : 22 พฤศจิกายน 2553 ระยะเวลาจ้าง : 1 ธ.ค. 53 – 30 พ.ย. 57  วาระที่ 1  วาระที่ 2 ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO  Board  รอง CEO  บุคคลภายนอก (ผอ. หลักสูตร MBA คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย) รอง CEO  พนักงาน  สัญญาจ้าง CFO  พนักงาน  สัญญาจ้าง พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496 เงินเดือนพนักงาน วัตถุประสงค์ มีดังต่อไปนี้ (ม. 6) (1) จัดสร้างตลาดสาธารณให้เพียงพอต่อความต้องการ (2) ปรับปรุงตลาดสาธารณให้ถูกสุขลักษณะ และทันสมัย (3) ส่งเสรมตลาดเอกชน (4) จัดและส่งเสริมการผลิตโภคภัณฑ์ให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาด (5) จัดการขนส่งโภคภัณฑ์ไปสู่ตลาดให้เป็นไปโดยสะดวก (6) จัดดำเนินการ ควบคุม และอำนวยบริการเกี่ยวกับตลาดขององค์การ กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน  คณะกรรมการกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง  มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง  ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น อัตราเงินเดือนขั้นสูงสุด ขั้นที่ 42 Min-max ของเงินเดือน : 7,210 – 42,480 บาท อัตราเงินเดือนแรกบรรจุ (ปริญญาตรี 4 ปี) : 8,610 บาท จำนวนพนักงาน : 99 คน (31 พ.ค. 54) จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ คณะกรรมการประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ผู้อำนวยการซึ่งเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง และกรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า 6 คน และไม่เกิน 15 คน เป็นผู้บริหารกิจการขององค์การ (ม. 13) คณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการอื่นนอกจากผู้อำนวยการ ซึ่งเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง (ม. 14) วาระการดำรงตำแหน่ง :ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการ ดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี เมื่อครบกำหนดแล้วเป็นอันพ้นจากตำแหน่งตามวาระ และผู้ที่พ้นจากตำแหน่งแล้วอาจแต่งตั้งอีกได้ (ม. 16) (ตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ม. 8 วรรคสอง กำหนดให้กรรมการรัฐวิสาหกิจที่ไม่ได้เป็นกรรมการโดยตำแหน่งมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี ซึ่งในกรณีดังกล่าวต้องยึดถือระยะเวลาการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี เนื่องจากเป็นหลักกฎหมายที่มีเจตนารมณ์เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบของกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับวาระการดำรงตำแหน่ง ตามบันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 734/2535 เรื่องวาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด :ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจแต่งตั้งและถอดถอนผู้อำนวยการ ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการ และมติให้ความเห็นชอบในการถอดถอนผู้อำนวยการต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งจำนวนของกรรมการทั้งหมด โดยไม่นับคะแนนเสียงของผู้อำนวยการซึ่งเป็นกรรมการโดยตำแหน่งด้วยให้ผู้อำนวยการได้รับเงินเดือนตามที่คณะกรรมการกำหนด (ม. 20) มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ  ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป  ยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ปัจจุบันไม่มีโครงการที่ดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน ที่มาของข้อมูล  สัญญาจ้างผู้บริหาร   มติคณะรัฐมนตรี  ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ คุณสมบัติเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ การพ้นจากตำแหน่งก่อนถึงวาระของประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการ คณะรัฐมนตรีให้ออก (ม. 17) สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 2 ผู้อำนวยการส่วน : นายปัญญ์สุธา รายา ผู้จัดทำ : นายหัสดินทร์ แสนสระดี โทร ต่อ 6720 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง : - สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง -ไม่มี- ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง เรื่องเสร็จที่ 352/2548 องค์การตลาดไม่อาจดำเนินกิจการจัดส่งข้าวสารออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศได้ เพราะไม่เกี่ยวกับการอันเป็นวัตถุประสงค์ขององค์การตลาด ตามที่กำหนดไว้ใน ม. 6 เรื่องเสร็จที่ 97/2549 คกก. องค์การตลาดมีอำนาจให้ความเห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ กับการเสนอชื่อผู้ผ่านการสรรหาเพื่อให้รัฐมนตรีแต่งตั้งตามนัย ม. 20 แห่ง พ.ร.ฎ. องค์การตลาดฯ ดังนั้น เมื่อปรากฏว่าองค์การตลาดได้ดำเนินการสรรหาผู้อำนวยการองค์การตลาดจนได้รายชื่อและตกลงเรื่องผลตอบแทนแล้ว แต่ยังมิได้เสนอชื่อต่อ คกก. ชุดใดให้ความเห็นชอบ คกก. ชุดใหม่ที่เข้าดำเนินการต่อสรรหาผู้อำนวยการฯ ย่อมมีอำนาจพิจารณาให้ความเห็นชอบ/ไม่เห็นชอบได้


ดาวน์โหลด ppt องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google