ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChiradet Aromdee ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ความพร้อมวิชาชีพแพทย์ไทยสู่อาเซียน รศ. พญ. ประสบศรี อึ้งถาวร
บทบาทแพทยสภา รศ. พญ. ประสบศรี อึ้งถาวร พบ, FAAP, FRCPC 2 พฤศจิกายน 2556
3
แนวทางการบรรยาย ประวัติ ที่มาของอาเซียน
การดำเนินการในระดับประเทศ สำหรับ AEC ข้อตกลงสำหรับแพทย์ บทบาทแพทยสภากับข้อตกลงสำหรับแพทย์ ผลกระทบด้านการแพทย์ การสาธารณสุข การเตรียมและปรับตัวของแพทยสภา
4
BANGKOK DECLARATION August 8, 1967 (2510 ) Indonesia Brunei D. Malaysia Myanmar Philippine Cambodia Singapore Lao PDR Thailand Vietnam
5
5
6
ASEAN COMMUNITY ASEAN Political-Security Community
ASEAN Economic Community : AEC ASEAN Socio-Cultural Community
7
การดำเนินการในระดับประเทศ เกี่ยวกับ AEC
7
8
ASEAN Framework Agreement on Services
(AFAS)1995 Bangkok การเจรจาเปิดตลาดการค้าบริการในกรอบอาเซียน Recognizing AFAS to enhance cooperation in services : article 5: AMS recognize the education or experience obtained ,requirements , licenses granted in another AMS for the purpose of licensing of service supplier.
9
Single Market and Production Base
Free flow of good :AFTA ASEAN free trade area Free flow of services: public safety regulation,CCS Free flow of investment : Free flow of capital: liberalization, capital mobility Free flow of skilled labor: AUN ASEAN Univer.Net
11
ข้อตกลงสำหรับแพทย์ MRA for medical practitioners
11
12
สาระสำคัญ Objectives สนับสนุนให้เกิดการเคลื่อนย้ายของแพทย์ในอาเซียน
แลกเปลี่ยนข้อมูลที่จะเอื้อต่อความร่วมมือระหว่างกัน ส่งเสริมให้มีการประกอบวิชาชีพที่มีมาตรฐาน สร้างโอกาสการพัฒนาวิชาชีพ ฝึกอบรมระหว่างกันสำหรับแพทย์
13
การรับรองคุณสมบัติของประเทศเจ้าบ้าน
คุณสมบัติตามกฎหมายของประเทศเจ้าบ้าน มีปริญญา และวุฒิที่รับรองทั้งสองประเทศ มีใบประกอบวิชาชีพที่ไม่หมดอายุ ทำงานต่อเนื่องไม่ต่ำกว่าห้าปี มีการศึกษาต่อเนื่อง ประวัติจริยธรรมดีรับรองโดยแพทยสภาต้นทาง ไม่มีประวัติทำผิดกฎหมาย เมื่อได้รับอนุญาต ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายของประเทศนั้น
14
บทบาทสภาวิชาชีพประเทศเจ้าบ้าน
ประเมินคุณสมบัติตามเกณฑ์ อนุมัติรับรองให้ประกอบวิชาชีพ ติดตามดูแลให้ประกอบวิชาชีพถูกต้องตามจริยธรรม การลงโทษให้เป็นไปตามกฎหมายของประเทศ ให้มีคณะทำงานประสานระดับอาเซียนคอยติดตาม ประเมินสถานะการณ์และกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างประเทศ ชื่อ AJCCM ทบทวนข้อตกลงทุก 5 ปี
15
บทบาทแพทยสภาไทยใน อาเซียน และ aec
15
17
องค์กรรับผิดชอบในประเทศไทย
CCS กระทรวงพาณิชย์ HSSWG กระทรวงสาธารณสุข AJCCD ทันตแพทยสภา AJCCM แพทยสภา AJCCN สภาการพยาบาล 17
18
ความคืบหน้าของการดำเนินการตามข้อตกลง
มีการประชุมร่วมในระดับต่างๆเพื่อให้ความคิดสอดคล้องกันโดย ระดับกระทรวงสาธารณสุข และ ทางวิชาชีพแพทย์ ที่ประชุมให้น้ำหนักกับระดับวิชาชีพในภาพรวมและขอให้นำแนวทางดำเนินการที่เห็นพ้องกันไปต่อยอด การประชุมให้ความสำคัญต่อบริบทของประเทศ โดยเฉพาะ การเคลื่อนย้ายบุคลากร แพทย์ทั่วไปและแพทย์เฉพาะทาง ให้เป็นไป ตามกฎระเบียบ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วย 18
19
ความคืบหน้าของการดำเนินการตามข้อตกลง
ได้จัดทำแผนการทำงาน สำหรับแต่ละประเทศในประเด็นต่างๆที่อยู่ในข้อตกลง และเริ่มด้วยประเด็นที่ตกลงแล้ว เช่นการแลกเปลี่ยนข้อมูลต่างๆเป็นภาษาอังกฤษ ประเด็นเรื่องการเคลื่อนย้ายชั่วคราวของแพทย์ กระตุ้นให้ทุกประเทศมีกติกานี้ ประเด็นการเคลื่อนย้ายถาวรให้มีการประเมินตามบริบทของประเทศ 19
20
Exchange information topics
หลักสูตรการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตและสถาบันผลิตแพทย์ในประเทศ การอบรมแพทย์เฉพาะทาง หลักสูตร รายละเอียดการอบรม กฎระเบียบ ข้อบังคับระดับประเทศ ที่เกี่ยวกับการศึกษา การลงทะเบียนรับ ใบอนุญาตเพื่อประกอบวิชาชีพเวชกรรม เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพระดับปริญญาและหลังปริญญา ข้อบังคับด้านจริยธรรมแพทย์ ข้อบังคับด้านการศึกษาต่อเนื่องและการพัฒนาวิชาชีพ 20
21
Exchange information topics
การลงทะเบียน การออกใบอนุญาตวิชาชีพเวชกรรม จำนวนแพทย์ที่ได้รับใบอนุญาตฯ ข้อมูลด้านจริยธรรม ด้านการประกอบวิชาชีพของแพทย์ สร้างฐานข้อมูลให้ประเทศสมาชิกเข้าถึง เกณฑ์มาตรฐานสำหรับแพทย์อาเซียนที่ต้องการมาทำงานในประเทศ นั้นๆ 21
22
Facilitate Mobility of Healthcare Professionals within ASEAN
แพทยสภาสนับสนุนให้มีการออกใบอนุญาตชั่วคราว เพื่อวัตถุประสงค์ด้านการเรียน การสอน การวิจัย การอบรมระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปีโดยให้ยึดระเบียบ ข้อบังคับของแต่ละประเทศเป็นหลัก
23
Provide opportunities for capacity building
and training of healthcare professionals ขยายโอกาสการประชุม สัมมนา อบรมร่วมกัน รวมทั้งการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การดูงาน ให้มากขึ้น โดยเฉพาะด้านแพทย์เฉพาะทาง 23
24
Malpractice Insurance ทุกประเทศพิจารณาการประกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
25
ผลกระทบด้านการแพทย์ การสาธารณสุข
25
29
อนาคตอาเซียนและไทย Good, services, investment, capital, labor
การเคลื่อนย้ายบุคลากรการแพทย์ทุกระดับในประเทศ และอาเซียน การลงทุนภาคบริการในอาเซียน การพัฒนาความเป็นเลิศทางการแพทย์ในระดับอาเซียนและสากล การเคลื่อนย้ายภาคประชาชน แรงงาน การท่องเที่ยว 29
30
อนาคตอาเซียนและไทย Good, services, investment, capital, labor
การขาดแคลนบุคลากรการแพทย์ในภาครัฐและระบบประกันสุขภาพ การขาดแคลนบุคลากรการแพทย์ที่มีประสบการณ์ทุกภาคส่วน การบริการทางการแพทย์ที่ไม่สมดุลย์ กับบริบทประเทศไทย ลักษณะแนวโน้มของโรคเปลี่ยนแปลง ระบาดวิทยา โรคเกิดใหม่ การทำเวชปฎิบัติที่ผิดกฎหมาย ขาดจริยธรรม เพิ่มความเสี่ยงทางแพทย์ 30
31
การเตรียมและปรับตัวของแพทยสภาและเครือข่ายพันธมิตรสุขภาพ
31
32
แพทยสภา กับการศึกษาก่อนปริญญา
สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตสู่สากล สนับสนุนการเพิ่มศักยภาพการผลิตแพทย์ทั่วไปให้ พอเพียงกับความต้องการของประเทศไทย พัฒนาการประเมินความรู้ความสามารถในการประกอบ วิชาชีพเวชกรรมให้เหมาะสมกับบริบทประเทศ
35
การพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตและสถาบันผลิตบัณฑิตแพทย์ในประเทศ
พันธมิตร: กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย คณะแพทยศาสตร์ต่างๆ แพทยสภา สนับสนุนให้คณะแพทย์พัฒนาหลักสูตรให้บัณฑิตแพทย์มีความรู้ความสามารถในระดับสากล มีทักษะด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษมากขึ้น แพทยสภา สนับสนุนให้มีการพัฒนาการรับรองหลักสูตรในระดับสากลและอาเซียน แพทยสภาสนับสนุนการผลิตแพทย์เพิ่ม การเปิดโรงเรียนแพทย์ใหม่ที่มีคุณภาพทั้งภาครัฐและเอกชน สนับสนุนการช่วยเหลือด้านการศึกษาแพทยศาสตร์ต่อเพื่อนสมาชิกอาเซียน
36
การรับรองหลักสูตรแพทยศาสตร์ต่างประเทศและอาเซียน
แพทยสภา รับรองหลักสูตรและรับรองสถาบันผลิตแพทย์ โดยกำหนดเกณฑ์มาตรฐานเช่นเดียวกับในประเทศไทย
37
แพทยสภากับการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพถาวร
แพทย์จบจากโรงเรียนแพทย์ที่รับรองโดยแพทยสภา มีใบประกอบวิชาชีพในประเทศนั้นที่ไม่หมดอายุ สอบผ่านการประเมินทุกขั้นตอนจากแพทยสภา คือ ศรว 37
38
ผู้สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตทั้ง
การสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตทั้ง ภาครัฐ/เอกชนและต่างประเทศ จะต้องผ่าน การสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมทุกคน
39
การสอบมีสามขั้นตอน ภาคทฤษฎีและปฎิบัติ
การสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม การสอบมีสามขั้นตอน ภาคทฤษฎีและปฎิบัติ พัฒนาการสอบภาคทฤษฎีเป็นภาษาอังกฤษ การสอบภาคปฎิบัติใช้ภาษาไทย
40
แพทยสภากับการออกใบอนุญาตฯชั่วคราว
แพทย์ที่ปรึกษาหรือผู้เชี่ยวชาญของทางราชการ มีใบประกอบวิชาชีพในประเทศนั้นที่ไม่หมดอายุ ประกอบวิชาชีพตามวัตถุประสงค์ภายใต้ความดูแล ในสถานที่และเวลาที่กำหนด ทั้งนี้ไม่เกิน หนึ่งปี
41
แพทยสภากับการศึกษาหลังปริญญา
สนับสนุนให้มีการช่วยเหลืออบรมแพทย์เฉพาะทาง เฉพาะด้าน ในสถาบันที่พร้อมและไม่มีผลกระทบต่อการผลิตของประเทศ โดยมีเงื่อนไขเพื่อพัฒนาศักยภาพของประเทศเพื่อนบ้านที่มิใช่ธุรกิจ สนับสนุนให้มีการอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพแพทย์ไทยในอนาคต เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาชีพ ตัวอย่าง เช่น โครงการเพิ่มศักยภาพของกระทรวงสาธาณสุข สนับสนุนราชวิทยาลัย สถาบันผลิตแพทย์ ในการจัดการประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับประเทศเพื่อนบ้าน 41
42
จำนวนแพทย์เฉพาะทาง แพทย์ทั่วไป 18,617
แพทย์ทั่วไป ,617 แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว+เวชปฏิบัติทั่วไป 6,757 กุมารแพทย์ ,123 สูติ-นรีแพทย์ ,282 ศัลยแพทย์ทั่วไป ,132 ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ ,718 อายุรแพทย์ ,367 แพทย์เฉพาะทางอนุสาขา ,627 ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
43
สาขาประเภทที่ 1 มี 12 สาขา สาขาประเภทที่ 2 มี 25 สาขา
การฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน สาขาประเภทที่ มี 12 สาขา สาขาประเภทที่ มี 25 สาขา สาขาประเภทที่ มี 42 สาขา เปิดรับปี 2557 43
44
สถาบันฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทาง
มี 55 สถาบัน มี 13 ราชวิทยาลัย 1 วิทยาลัย 1 สมาคม ศักยภาพการฝึกอบรมปี 2556 คือ 2,325 ตำแหน่ง 44
45
แพทยสภากับการควบคุมมาตรฐาน
แนวโน้มการมีประกอบวิชาชีพผิดกฎหมาย ไม่มีทะเบียน แนวโนัมการประกอบวิชาชีพที่ผิดจริยธรรม ปัญหากฎหมาย การป้องกันความเสี่ยง คำนึงถึงความปลอดภัยของผุ้ป่วย พัฒนาระบบติดตามผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พัฒนาระบบการศึกษาต่อเนื่องในแพทย์ที่ได้รับใบอนุญาตทุกคน 45
46
การควบคุมการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
คณะกรรมการแพทยสภา คณะอนุกรรมการกลั่นกรองจริยธรรม คณะอนุกรรมการจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม จำนวน 25 ชุด คณะอนุกรรมการสอบสวน จำนวน 9 ชุด
47
แพทยสภากับการสนับสนุนข้อตกลง
รวบรวมข้อมูลที่สำคัญในการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน สนับสนุนการแลกเปลี่ยนบุคลากรเพื่อการพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ ส่งเสริมให้มีการศึกษา การอบรม แก่ประเทศอาเซียนตามศักยภาพ พัฒนาขบวนการด้านจริยธรรม การศึกษาต่อเนื่อง ให้ครอบคลุม ปัญหาในอนาคต เจรจาต่อรองแนวทางการเคลื่อนย้ายให้สอดคล้องกับบริบทประเทศไทย
48
ปรับตัวด้วยภูมิคุ้มกัน
รู้เขา รู้เรา รู้รอบ รู้ลึก พร้อมปรับเปลี่ยนตลอดเวลา โอกาสมีมากกว่า ถ้าเราก้าวให้เร็วกว่า อย่ามองใกล้ในหน่วยงาน ในโรงพยาบาล ในปัจเจกบุคคล มองตามวิสัยทัศน์ประเทศไทยที่จะเป็นสมาชิกที่เข้มแข็ง สนับสนุนสุขภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอาเซียน
49
ขอให้ทุกท่านโชคดี ขอบคุณค่ะ
ขอให้ทุกท่านโชคดี ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.