งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มุมมอง ผลกระทบ และ ความคาดหวังของสังคม ที่มีต่อ CSR

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มุมมอง ผลกระทบ และ ความคาดหวังของสังคม ที่มีต่อ CSR"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มุมมอง ผลกระทบ และ ความคาดหวังของสังคม ที่มีต่อ CSR
นายประสงค์ ประยงค์เพชร สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)

2 มุมมอง และผลกระทบ โลกาภิวัฒน์ (Globalization)
ภาวะผันผวนด้านเศรษฐกิจ (Economic crisis) ความคาดหวังจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) องค์กรที่มีขนาดเล็กและขนาดกลาง (SMOs) กระแสที่ผลักดันให้เกิด SR โลกาภิวัฒน์ (Globalization) การสื่อสารเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว เกิดการรู้เขารู้เรา บุคคลหรือองค์กรต่างๆ ทั่วโลกรู้ว่าแต่ละแห่งที่(ใกล้หรือไกล)ทำกิจกรรมอะไรบ้าง องค์กรเรียนรู้การทำงานและการแก้ไขปัญหาจากองค์กรอื่นๆ ถูกจับตามมองตลอดเวลา ข่าวสารที่แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว องค์กรธุรกิจแผ่ขยายไปทั่วโลก ถ้าไม่มีหลักการควบคุมด้านมนุษยธรรม หรือมาตรฐานที่เท่าเทียมกัน ก็จะเกิดกรณีอย่างบริษัทยักษ์ใหญ่แห่งหนึ่งที่ไปผลิตสินค้าในประเทศยากจน กดราคาแรงงานให้ต่ำสุดขีด เพื่อมาขายในประเทศพัฒนาแล้วในราคาสูงลิบ ขาดจรรยาบรรณขององค์กรที่ดี ในด้านสิทธิและสวัสดิการแรงงาน เป็นต้น ห่างโซ่อุปทาน (Supply chain) องค์กรต่างๆ ล้วนมีผู้ส่งมอบ (Suppliers) ของตน การนำหลักการด้าน SR ไปใช้กับผู้ส่งมอบเหล่านั้นด้วยจะทำให้มีการพัฒนาไปพร้อมๆ กันทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคมโลก การเปิดเสรีการค้า และการปฏิรูปด้านกฎหมายต่างๆ เนื่องจากปัจจุบัน โลกเปิดเสรีทางการค้า แต่ในแง่ของกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ อาจยังไม่คลอบคลุม หรือเพียงพอที่จะคุ้มครองให้องค์กรธุรกิจดำเนินการอยู่ภายใต้จรรยาบรรณที่ดี ดังนั้นหากภาคธุรกิจ มีผู้นำที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ก็จะเป็นตัวสร้างกระแส SR ให้เกิดขึ้น อุดช่องโหว่ที่ฝ่ายรัฐบาลเข้าไปดูแลไม่ถึง กระแสเรื่องสิ่งแวดล้อม และสังคม เป็นประเด็นปัญหาที่เป็นที่ยอมรับทั้งโลกที่ต้องร่วมกันรับผิดชอบ นับจาก RIO Summit ในปี พ.ศ.2503 (ค.ศ.1960) ที่นำประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในกระแสสังคมโลก ต่อมากระแสด้านสังคม ก็เพิ่มขึ้นเนื่องจากเกิดปัญหาสังคม ทำให้เกิดแนวคิดเรื่อง Triples Bottom Line กล่าวคือ การบริหารจัดการที่ใส่ใจผลกำไร สิ่งแวดล้อม และสังคมไปพร้อมๆ กัน เนื่องจากกระแสเรื่องสิ่งแวดล้อม และสังคม เป็นประเด็นร้อน บีบให้องค์กรธุรกิจต้องหันมาใส่ใจ แต่ก็ยังคงต้องรักษาผลกำไรขององค์กรไว้เป็นหลัก ดังนั้นการทำ SR จึงเป็นทางออกที่ดีที่สุดที่จะประสานประโยชน์ทั้ง 3 เข้าด้วยกันได้ องค์กรธุรกิจหลายองค์กรที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล จึงเริ่มหันมาทำ SR กันอย่างพร้อมหน้า เช่น Climate change การเปลี่ยนแปลงของบทบาทและหน้าที่ของรัฐ องค์กรเอกชนเริ่มเข้ามามีบทบาทหน้าที่แทนในกิจกรรมหรือการบริการที่รัฐเคยเป็นผู้ดำเนินการเอง ความคาดหวังของประชาคมและชุมชน ประชาคมและชุมชนมีความคาดหวังที่จะได้รับทราบถึงสมรรถนะขององค์กรที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีเพิ่มขึ้น อาจมีกฎหมายการสามารถเข้าถึงข้อมูลผลการดำเนินงานขององค์กร (Community right to know legislation) โดยจะเห็นว่าองค์กรต่างๆ มีการทำ Annual sustainability report

3 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders)
อื่นๆ อีกมากมาย สื่อ ราชการ ผู้ส่งมอบ ผู้บริจาค ผู้ร่วมลงทุน NGO ชุมชน สหภาพ คนงาน ผู้บริโภค ลูกค้า องค์กร Organizations are subject to greater scrutiny by their various stakeholders, including customers or consumers, workers and their trade unions, members, the community, non-governmental organizations, students, financiers, donors, investors, companies and other entities เขาเหล่านี้ล้วนสนใจในผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งสิ้น ดังนันผลกระทบจะประกอบด้วย The perception and reality of an organization’s social responsibility performance can influence, but is not limited to: - competitive advantage; - its reputation; - its ability to attract and retain male and female workers and/or members, customers, clients or users; - the maintenance of employees' morale, commitment and productivity; - the view of investors, donors, sponsors and the financial community; and - its relationship with companies, governments, the media, suppliers, peers, customers and the community in which it operates.

4 Supply chain and Value Chain Sphere of influence
ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย Natural, Social and Economic Environment ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย Value Chain ลูกค้า Supply Chain องค์กร ขายส่ง ผู้บริโภค ผู้ส่งมอบ ย่อย ผู้ส่งมอบ 2.18 sphere of influence area or political, contractual or economic relationships across which an organization has the ability to affect the decisions or activities of individuals or organizations NOTE Area can be understood in a geographic sense, as well as in a functional sense. 2.21 supply chain sequence of activities or parties that provides products and/or services to the organization NOTE In some instances, the term supply chain is understood to be the same as value chain (2.23). However, for the purpose of this International Standard supply chain is used as defined above. 2.24 value chain entire sequence of activities or parties that provide or receive value in the form of products or services NOTE 1 Parties that provide value include suppliers, outsourced workers and others. NOTE 2 Parties that receive value include customers, consumers, clients and other users รับจัดการ ของเลิกใช้ ผู้ส่งมอบ วัตถุดิบ

5 มุมมอง และผลกระทบ (ต่อ)
กฎหมาย กฎ และระเบียบต่างๆ การเปิดเผยข้อมูล และรายงาน SR ชื่อเสียง และ ภาพลักษณ์ การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) กระแสที่ผลักดันให้เกิด SR โลกาภิวัฒน์ (Globalization) การสื่อสารเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว เกิดการรู้เขารู้เรา บุคคลหรือองค์กรต่างๆ ทั่วโลกรู้ว่าแต่ละแห่งที่(ใกล้หรือไกล)ทำกิจกรรมอะไรบ้าง องค์กรเรียนรู้การทำงานและการแก้ไขปัญหาจากองค์กรอื่นๆ ถูกจับตามมองตลอดเวลา ข่าวสารที่แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว องค์กรธุรกิจแผ่ขยายไปทั่วโลก ถ้าไม่มีหลักการควบคุมด้านมนุษยธรรม หรือมาตรฐานที่เท่าเทียมกัน ก็จะเกิดกรณีอย่างบริษัทยักษ์ใหญ่แห่งหนึ่งที่ไปผลิตสินค้าในประเทศยากจน กดราคาแรงงานให้ต่ำสุดขีด เพื่อมาขายในประเทศพัฒนาแล้วในราคาสูงลิบ ขาดจรรยาบรรณขององค์กรที่ดี ในด้านสิทธิและสวัสดิการแรงงาน เป็นต้น ห่างโซ่อุปทาน (Supply chain) องค์กรต่างๆ ล้วนมีผู้ส่งมอบ (Suppliers) ของตน การนำหลักการด้าน SR ไปใช้กับผู้ส่งมอบเหล่านั้นด้วยจะทำให้มีการพัฒนาไปพร้อมๆ กันทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคมโลก การเปิดเสรีการค้า และการปฏิรูปด้านกฎหมายต่างๆ เนื่องจากปัจจุบัน โลกเปิดเสรีทางการค้า แต่ในแง่ของกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ อาจยังไม่คลอบคลุม หรือเพียงพอที่จะคุ้มครองให้องค์กรธุรกิจดำเนินการอยู่ภายใต้จรรยาบรรณที่ดี ดังนั้นหากภาคธุรกิจ มีผู้นำที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ก็จะเป็นตัวสร้างกระแส SR ให้เกิดขึ้น อุดช่องโหว่ที่ฝ่ายรัฐบาลเข้าไปดูแลไม่ถึง กระแสเรื่องสิ่งแวดล้อม และสังคม เป็นประเด็นปัญหาที่เป็นที่ยอมรับทั้งโลกที่ต้องร่วมกันรับผิดชอบ นับจาก RIO Summit ในปี พ.ศ.2503 (ค.ศ.1960) ที่นำประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในกระแสสังคมโลก ต่อมากระแสด้านสังคม ก็เพิ่มขึ้นเนื่องจากเกิดปัญหาสังคม ทำให้เกิดแนวคิดเรื่อง Triples Bottom Line กล่าวคือ การบริหารจัดการที่ใส่ใจผลกำไร สิ่งแวดล้อม และสังคมไปพร้อมๆ กัน เนื่องจากกระแสเรื่องสิ่งแวดล้อม และสังคม เป็นประเด็นร้อน บีบให้องค์กรธุรกิจต้องหันมาใส่ใจ แต่ก็ยังคงต้องรักษาผลกำไรขององค์กรไว้เป็นหลัก ดังนั้นการทำ SR จึงเป็นทางออกที่ดีที่สุดที่จะประสานประโยชน์ทั้ง 3 เข้าด้วยกันได้ องค์กรธุรกิจหลายองค์กรที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล จึงเริ่มหันมาทำ SR กันอย่างพร้อมหน้า เช่น Climate change การเปลี่ยนแปลงของบทบาทและหน้าที่ของรัฐ องค์กรเอกชนเริ่มเข้ามามีบทบาทหน้าที่แทนในกิจกรรมหรือการบริการที่รัฐเคยเป็นผู้ดำเนินการเอง ความคาดหวังของประชาคมและชุมชน ประชาคมและชุมชนมีความคาดหวังที่จะได้รับทราบถึงสมรรถนะขององค์กรที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีเพิ่มขึ้น อาจมีกฎหมายการสามารถเข้าถึงข้อมูลผลการดำเนินงานขององค์กร (Community right to know legislation) โดยจะเห็นว่าองค์กรต่างๆ มีการทำ Annual sustainability report

6 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม
CSR and SD ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ส่งเสริม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม พัฒนา ไปพร้อมกัน อย่างสมดุล

7 แนวทางและมาตรฐานด้าน CSR
แนวปฏิบัติขององค์กรต่างๆ แนวปฏิบัติจากองค์กรสากล เช่น หน่วยงานมาตรฐานของประเทศต่างๆ หน่วยงานธุรกิจต่างๆ มีการกำหนดเกณฑ์ที่เป็นแนวทางปฏิบัติของตนเอง รวมทั้งองค์กรสากลต่างๆ โดยเฉพาะองค์การสากลด้านแรงงาน หน่วยงานมาตรฐานในแต่ละประเทศทั้งในยุโรปและอเมริกา ซึ่งมีความแตกต่างและหลากหลาย โดยพบว่าคำนิยามที่กำหนดขึ้นมีความแตกต่างกัน ISO ซึ่งเป็นหน่วยงานมาตรฐานสากลจึงต้องเข้ามาดำเนินการ OECD = Organization for Economic Co-operation and Development

8 บทบาทของมาตรฐาน ได้รับการยอมรับ สามารถใช้ร่วมกันได้

9 ISO กับการกำหนดมาตรฐานด้าน SR
ผู้บริโภค (Consumer) อุตสาหกรรม (Industry) หน่วยงานที่ไม่ใช่ภาครัฐ (NGOs) แรงงาน (Labor) ที่เหลือ ได้แก่ การบริการ หน่วยงานสนับสนุน งานวิจัย และ อื่นๆ (SSRO: Service, support, research and others) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (ผู้เชี่ยวชาญและผู้สังเกตการณ์) จาก 6 กลุ่มหลัก คือ ผู้บริโภค (Consumers) รัฐ หรือราชการ (Government) อุตสาหกรรม (Industry) แรงงาน (Labor) หน่วยงานที่ไม่ใช่ภาครัฐ (NGOs) ที่เหลือ ได้แก่ การบริการ หน่วยงานสนับสนุน งานวิจัย และ อื่นๆ (SSRO: Service, support, research and others) รัฐ หรือราชการ (Governments)

10 ISO 26000 มาตรฐานข้อแนะนำ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับระบบการบริหารงานที่มีอยู่ ไม่ใช่ มาตรฐานระบบการบริหารงาน ไม่มีจุดมุ่งหมาย หรือ มีความเหมาะสม ที่จะนำไปใช้ในการรับรอง หรือ ประกาศบังคับ หรือ ทำข้อตกลง การเสนอให้ หรือการกล่าวอ้างว่าได้รับการรับรอง ตาม ISO จึงไม่สามารถยอมรับได้

11 ISO 26000 (ต่อ) ใช้ได้กับทุกองค์กร ประเภท และขนาด ภาคธุรกิจ ภาครัฐ NGO
SMOs

12 แผนการประกาศ ISO 26000 ล่าสุด DIS 26000 ข้อมูล http://www.iso.org/wgsr
กันยายน 2553

13 โครงสร้างของ IS0 26000 0 บทนำ ขอบข่าย นิยาม คำศัพท์ และคำย่อ
0 บทนำ ขอบข่าย นิยาม คำศัพท์ และคำย่อ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม (SR) หลักการของ SR (Principles) การให้ความสำคัญกับ SR และการดำเนินงานกับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หัวข้อหลักของ SR (Core subjects) ข้อแนะนำในการบูรณาการ SR ตลอดทั่วทั้งองค์กร ภาคผนวก A Table 1 — ISO 26000 1 Scope Defines the content and scope covered by this International Standard and identifies certain limitations and exclusions. 2 Terms and definitions Identifies and provides the definition of key terms that are of fundamental importance for understanding social responsibility and using this International Standard 3 Understanding social responsibility Describes the factors, conditions and important issues that have influenced the development of social responsibility and that continue to affect its nature and practice. It also describes the concept of social responsibility itself - what it means and how it applies to organizations. The clause includes guidance for small and medium sized organizations on the use of this International Standard. 4 Principles of social responsibility Introduces and explains the principles of social responsibility. 5 Recognizing social responsibility and engaging with stakeholders Addresses two practices of social responsibility: an organization’s recognition of its social responsibility, and the identification and engagement with its stakeholders 6 Guidance on social responsibility core subjects Explains the core subjects and associated issues relating to social responsibility (see Table 2). For each core subject, information has been provided on its scope, its relationship to social responsibility, relevant principles and considerations, and related actions and expectations 7 Guidance on integrating social responsibility throughout an organization Provides guidance on putting social responsibility into practice in an organization. Annex A on voluntary initiatives and tools relating to social responsibility Presents a non-exhaustive list of voluntary initiatives and tools relating to social responsibility that address aspects of one or more core subjects and/or the integration of social responsibility throughout an organization. Annex B Abbreviations Presents a list of abbreviations used in this International Standard Bibliography Includes references to authoritative international instruments and ISO Standards that have been referenced in the body of this International Standard as source material.

14 ความหมายของ SR ความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจและกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ที่ทำอย่างโปร่งใส และมีคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่ง ส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ ความอยู่ดี มีสุขของสังคม คำนึงถึงความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึง แนวปฏิบัติของสากล บูรณาการเข้าเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินธุรกิจและผู้ที่เกี่ยวข้อง (relationships)

15 หัวข้อหลัก (Core Subjects) และ ประเด็นต่างๆ (Issues)
หลักการ (Principles) หัวข้อหลัก (Core Subjects) และ ประเด็นต่างๆ (Issues) Table 2 ให้รายละเอียดของ Core Subjects และ Issues รวม 7 หัวข้อหลัก ทั้งหมด 34 ประเด็น

16 7 หลักการ ของ SR ความรับผิดชอบ (Accountability)
ความโปร่งใส (Transparency) ความมีจริยธรรม (Ethical) การรับฟังผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Respect for and considering of stakeholder interests) การเคารพต่อหลักนิติธรรม (Respect for rule of law) การยอมรับในมาตรฐานสากล (Respect for international norms) การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน (Respect for human rights) ร่างมาตรฐาน ISO 2600 แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักดังนี้ส่วนที่หนึ่งเป็นหลักการ 7 ข้อ  ส่วนที่ 2 เป็นส่วนของประเด็นหลัก ส่วนที่ 3 เป็นส่วนของ วิธีการดำเนินการ ดังแสดงในภาพที่1  (แสดงภาพ  Seven principles) จากภาพแสดงให้เห็นว่าหลักการ 7 ข้อของ ISO นั้นประกอบด้วย 1) ความรับผิดต่อสังคมที่สามารถตรวจสอบได้ (Accountability) 2) ความโปร่งใส (Transparency) 3) ความมีจริยธรรม (Ethical) 4) การรับฟังผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในทุกๆ ฝ่าย อาทิ ชาวบ้านในชุมชน (Respect for and considering of stakeholder interests) 5) การปฏิบัติตามหลักนิติธรรม (Respect for rule of law) 6) การยอมรับในมาตรฐานสากล (Respect for international norms) และ7) การเคารพสิทธิมนุษยชน (Respect for human rights) และหากจะเจาะลึกลงไปถึงส่วนที่สองว่าด้วยประเด็นสำคัญก็สามารถแบ่งแยกย่อยได้ 7 ประเด็นดังนี้ 1) ธรรมาภิบาลขององค์กร (organization governance)  2) การเคารพสิทธิมนุษยชน (human rights) 3) การปฏิบัติต่อผู้ใช้แรงงานอย่างเป็นธรรม (labor practices) 4) ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม (environment) 5) การดำเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม (fair operating practices) 6) การรับผิดชอบต่อผู้บริโภค(consumer issues)  และ7) การแบ่งปันสู่สังคมและชุมชน (contribution to the community and society) ซึ่งในประเด็นต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว  7 ข้อ โดยส่วนใหญ่องค์กรในประเทศไทยจะเน้นกิจกรรมการแบ่งปันสู่สังคมและชุมชน (contribution to the community and society) อาทิ การสร้างโรงเรียน  แจกสิ่งของในชุมชน  เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นเพียง 1 ใน 7  ประเด็นสำคัญเท่านั้นการดำเนินการเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมควรทำหลายๆ ประเด็นตามความเหมาะสมของแต่ละองค์กร รวมถึงทำไปพร้อมๆ กันในหลายๆ องค์กร

17 1 ความรับผิดชอบ รับผิดชอบในการสร้างผลกระทบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร การถูกตรวจสอบและผลการตัดสิน ตอบคำถามในสิ่งที่ทำ หรือที่ตัดสินใจ แก้ไขข้อผิดพลาด และไม่เกิดซ้ำ 4.2 Accountability The principle is: an organization should be accountable for its impacts on society and the environment. This principle suggests that an organization should accept appropriate scrutiny and also accept a duty to respond to this scrutiny. Accountability imposes an obligation on management to be answerable to the controlling interests of the organization and on the organization to be answerable to legal authorities with respect to laws and regulations. Accountability implies that the organization is answerable to those affected by its decisions and activities, as well as to society in general, for the overall impact on society of its decisions and activities. Being accountable will have a positive impact on both the organization and society. The degree of accountability may vary, but should always correspond to the amount or extent of authority. Those organizations with ultimate authority are likely to take greater care for the quality of their decisions and oversight. Accountability also encompasses accepting responsibility where wrongdoing has occurred, taking the appropriate measures to remedy the wrongdoing and taking action to prevent it from being repeated.

18 2 ความโปร่งใส ความโปร่งใสในการตัดสินใจ และ กิจกรรมต่างๆ ที่สร้างผลกระทบ เปิดเผยนโยบายอย่างชัดเจน ถูกต้อง และ ครบถ้วน ข้อมูลที่สามารถเข้าถึง และ เข้าใจได้ง่าย ข้อมูลทันสมัย ถูกต้อง และนำเสนอได้ชัดเจน เปิดเผยตามขอบเขตของกฎหมายที่กำหนด 4.3 Transparency The principle is: an organization should be transparent in its decisions and activities that impact on society and the environment. An organization should disclose in a clear, accurate and complete manner and to a reasonable and sufficient degree, the policies, decisions and activities for which it is responsible, including the known and likely impacts on society and the environment. This information should be readily available and directly accessible as well as understandable to those who have been, or may be affected in significant ways by the organization. It should be timely, factual and presented in a clear and objective manner so as to enable stakeholders to accurately assess the impact that the organization’s decisions or actions have on their respective interests. The principle of transparency does not require that proprietary information be made public, nor does it involve providing information that is legally protected or that would otherwise breach legal, commercial, security or personal privacy obligations.

19 3 ความมีจริยธรรม ดำเนินการที่มีคุณธรรมและจริธรรมตลอดเวลา
ส่งเสริมการสร้างคุณธรรมและจริยธรรม เช่น ความซื่อสัตย์ สุจริต และ ซื่อตรง คุณธรรมและจริยธรรม ทั้งต่อมนุษย์ สัตว์ สิ่งแวดล้อม และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.4 Ethical behaviour The principle is: an organization should behave ethically at all times. An organization’s behaviour should be based on the ethics of honesty, equity and integrity. These ethics imply a concern for people, animals and the environment and a commitment to address stakeholders’ interests.

20 4 เคารพต่อผลประโยชน์ของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ให้ความสนใจ และตอบสนองต่อผลประโยชน์ของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย กลไกการชี้บ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผลประโยชน์ ตอบสนองต่อผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด 4.5 Respect for stakeholder interests The principle is: an organization should respect, consider and respond to the interests of its stakeholders. Although an organization’s objectives may be limited to the interests of its respective owners, members, customers or constituents, other individuals or groups may also have rights, claims or specific interests that should be taken into account. Collectively, these individuals or groups comprise the organization’s stakeholders อย่ามองแต่ผลประโยชน์ของบริษัท ผู้ถือหุ้น ต้องมองประโยชน์ของผ็อื่นด้วย

21 5 เคารพต่อหลักยุติธรรม
เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ติดตาม และตรวจสอบว่ามีการดำเนินการตามที่กำหนดไว้ 4.6 Respect for the rule of law The principle is: an organization should accept that respect for the rule of law is mandatory. The rule of law refers to the supremacy of law and, in particular, to the idea that no individual or organization stands above the law and that government is also subject to law. The rule of law contrasts with the arbitrary exercise of power. It is generally implicit in the rule of law that laws are written, publicly disclosed and fairly enforced according to established procedures. In the context of social responsibility, respect for the rule of law means that an organization complies with all applicable laws and regulations. This implies that it should take steps to be aware of applicable laws and regulations, to inform those within the organization responsible for observing these laws and regulations and to implement measures so that they are observed.

22 6 เคารพต่อข้อกำหนด และแนวปฏิบัติของสากล
เคารพข้อกำหนดและแนวปฏิบัติสากล ในขณะที่ยังเคารพต่อหลักยุติธรรม กรณีไม่มีกฎหมายกำหนดไว้ ผู้มีความเกี่ยวข้องปฏิบัติตามกฎหมายด้วย การร่วมกระทำผิด (complicity) 4.7 Respect for international norms of behaviour The principle is: an organization should respect international norms of behaviour, while adhering to the principle of respect for the rule of law. Box 3 – Understanding complicity Complicity has both legal and non-legal meanings. In the legal context complicity has been defined in some jurisdictions as perpetrating an act or omission having a substantial effect on the commission of an illegal act such as a crime, and having knowledge of contributing to it. In the non-legal context, complicity derives from broad societal expectations of behaviour. In this context, an organization may be considered complicit when it assists in the commission of wrongful acts of others that are inconsistent with, or disrespectful of, international norms of behaviour that the organization, through exercising due diligence, knew or should have known, would lead to substantial negative impacts on the environment or society. An organization may also be considered complicit where it stays silent about or benefits from such wrongful acts.

23 7 เคารพต่อสิทธิมนุษยชน
เคารพต่อสิทธิมนุษยชนและให้ความสำคัญและความเท่าเทียมกัน นโยบายการดำเนินงานสอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แนวทางปฏิบัติของสากล 4.8 Respect for human rights The principle is: an organization should respect human rights and recognize both their importance and their universality (see also the core subject on human rights in 6.3).

24 7 หลักการ และ 7 หัวข้อหลัก
7 หลักการของความรับผิดชอบต่อสังคม (7 SR Principles) 1.ความรับผิดชอบ (Accountability) 2. ความโปร่งใส (Transparency) 3. จริยธรรม (Ethical) 4. ความสำคัญของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Respect for and considering of stakeholder interests) 5. เคารพต่อหลักนิติธรรม (Respect for rule of law) 6. ยอมรับในมาตรฐานสากล (Respect for international norms) 7. เคารพต่อสิทธิมนุษยชน (Respect for human rights) 7 หัวข้อหลัก (Core Subjects) ธรรมาภิบาล (Organizational governance) สิทธิมนุษยชน (Human Rights) การปฏิบัติ ด้านแรงงาน (Labour practices) สิ่งแวดล้อม (Environment) ที่เป็นธรรม (Fair operating practices) ประเด็น ด้านผู้บริโภค (Consumer issues) การพัฒนาและ การมีส่วนร่วม ของชุมชน

25 ประเด็นต่างๆ ของ CSR and more…
Human rights Use of natural resources Society and Community Working conditions Biodiversity Climate change Supply chain Product design Product safety Diversity Business ethics What is under the big umbrella? Many many different areas/parts of a business, its strategy, its operations, its business relations, its license to operate etc. Bear this in mind as we go through the course. Corporate governance Recruitment Marketplace and customers Emissions Stakeholder relations Fraud Labour rights Philanthropy Waste management and more…

26 7 หัวข้อหลัก (Core subjects)
หลอมรวมกัน การพัฒนาและ การมีส่วนร่วม ของชุมชน สิทธิมนุษยชน ธรรมาภิบาล ประเด็น ด้านผู้บริโภค การปฏิบัติ ด้านแรงงาน องค์กร 6 Guidance on social responsibility core subjects 6.1 General 6.2 Organizational governance 6.3 Human rights 6.4 Labour practices 6.5 The Environment 6.6 Fair operating practices 6.7 Consumer issues 6.8 Community involvement and development การปฏิบัติ ที่เป็นธรรม สิ่งแวดล้อม

27 หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ (1)
ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม การปฏิบัติที่เป็นธรรม ประเด็นด้านผู้บริโภค การพัฒนาและ การมีส่วนร่วมของชุมชน ความรับผิดชอบ ความโปร่งใส จริยธรรม ความสำคัญของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย เคารพต่อหลักนิติธรรม

28 หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ (2)
การพิจารณาถึงความเสี่ยง สถานการณ์ที่มีความเสี่ยง การหลีกเลี่ยงการสมรู้ร่วมคิด การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง การเลือกปฏิบัติและ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส สิทธิการเป็นพลเมืองและทางการเมือง สิทธิทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงาน ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม การปฏิบัติที่เป็นธรรม ประเด็นด้านผู้บริโภค การพัฒนาและ การมีส่วนร่วมของชุมชน

29 หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ (3)
ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติ ด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม การปฏิบัติที่เป็นธรรม ประเด็นด้านผู้บริโภค การพัฒนาและ การมีส่วนร่วมของชุมชน การจ้างงานและความเกี่ยวข้องกับการจ้างงาน เงื่อนไขในการทำงานและการคุ้มครองทางสังคม การสานเสวนา สุขภาพและความปลอดภัยในการทำงาน การพัฒนาบุคลากรและ การฝึกอบรมในสถานที่ปฏิบัติงาน

30 หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ (4)
ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม การปฏิบัติที่เป็นธรรม ประเด็นด้านผู้บริโภค การพัฒนาและ การมีส่วนร่วมของชุมชน การป้องกันมลพิษ การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การลดผลกระทบ และการปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การปกป้องสิ่งแวดล้อมและการฟื้นฟูธรรมชาติ

31 หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ (5)
ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม การปฏิบัติ ที่เป็นธรรม ประเด็นด้านผู้บริโภค การพัฒนาและ การมีส่วนร่วมของชุมชน การต่อต้านการทุจริต การร่วมรับผิดชอบในทางการเมือง การแข่งขันอย่างเป็นธรรม ส่งเสริมความรับผิดชอบด้านสังคมในขอบเขตของการมีอิทธิพล การเคารพต่อสิทธิของทรัพย์สิน

32 หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ (6)
ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม การปฏิบัติที่เป็นธรรม ประเด็นด้าน ผู้บริโภค การพัฒนาและ การมีส่วนร่วมของชุมชน การตลาด ข้อมูลข่าวสาร และการปฏิบัติในข้อตกลง/สัญญา ที่เป็นธรรม การปกป้องสุขภาพและ ความปลอดภัยของผู้บริโภค การบริโภคอย่างยั่งยืน การบริการ การสนับสนุน และการยุติข้อโต้แย้ง การปกป้องข้อมูลและ ความเป็นส่วนตัวของผู้บริโภค การเข้าถึงบริการที่จำเป็น การให้ความรู้ และ การสร้างความตระหนัก

33 หัวข้อหลักกับประเด็นต่างๆ (7)
ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม การปฏิบัติที่เป็นธรรม ประเด็นด้านผู้บริโภค การพัฒนาและ การมีส่วนร่วมของชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชน การศึกษาและวัฒนธรรม การจ้างงานและ การพัฒนาทักษะ การพัฒนาเทคโนโลยีและเข้าถึงเทคโนโลยี การสร้างความมั่งคั่งและ รายได้ สุขภาพ การลงทุนด้านสังคม

34 ข้อควรตระหนัก 7 หัวข้อหลัก ครอบคลุมผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ในแต่ละหัวข้อหลักจะมีประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาประกอบการพิจารณา องค์กรทุกแห่งต้องเกี่ยวข้องกับ 7 หัวข้อหลักทั้งหมดข้างต้น โดยไม่จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆ ที่มีทุกประเด็น แนวทางในการดำเนินการ และ/หรือ ความคาดหวังสำหรับแต่ละประเด็น

35 ความคาดหวัง การนำ SR ไปปฏิบัติ

36 การนำ ISO 26000 ไปปฏิบัติ 7 หลักการ ของ SR 7 หัวข้อหลัก
1.ความรับผิดชอบ (Accountability) 2. ความโปร่งใส (Transparency) 3. จริยธรรม (Ethical) 4. ความสำคัญกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Respect for and considering of stakeholder interests) 5. เคารพต่อหลักนิติธรรม (Respect for rule of law) 6. ยอมรับในมาตรฐานสากล (Respect for international norms) 7. เคารพต่อสิทธิมนุษยชน (Respect for human rights) การให้ความสำคัญต่อ SR การชี้บ่งและการดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ธรรมาภิบาล (Organizational governance) สิทธิมนุษยชน (Human Rights) การปฏิบัติ ด้านแรงงาน (Labour practices) สิ่งแวดล้อม (The Environment) การปฏิบัติที่เป็นธรรม (Fair operating practices) ประเด็นด้านผู้บริโภค (Consumer issues) การพัฒนาและ การมีส่วนร่วม ของชุมชน ประเด็น การดำเนินการ และ/หรือ ความคาดหวังที่เกี่ยวข้อง 7 หัวข้อหลัก การนำไปปฏิบ้ติในองค์กร ความสัมพันธ์ระหว่าง คุณลักษณะต่างๆ ขององค์กรกับ SR ข้อเสนอการใช้ SR โดยความสมัครใจ การนำ SR ไปปฏิบัติแบบบูรณาการ การสื่อสารเกี่ยวกับ SR ทำความเข้าใจ SR ขององค์กร Annex : Initiatives for SR การทบทวน และการปรับปรุง SR การเพิ่มความน่าเชื่อถือด้วย SR ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะต่างๆ ขององค์กรกับ SR ทำความเข้าใจ SR ขององค์กร บูรณาการ SR ทั่วทั้งองค์กร การสื่อสารเกี่ยวกับ SR การเพิ่มความน่าเชื่อถือโดยการใช้ SR การทบทวนและการปรับปรุง SR การใช้ SR โดยความสมัครใจ

37 แนวทางการดำเนินการ ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะต่าง ๆ ขององค์กร ต่อ SR

38 ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร กับสังคมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย สังคม หัวข้อหลัก และประเด็นต่างๆ ความคาดหวัง ผลประโยชน์ ผลกระทบ

39 การชี้บ่งและการดำเนินงาน กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การดำเนินงานด้าน SR จะเกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยพิจารณา การชี้บ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การดำเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง พิจารณาจากผลกระทบที่เกิดขึ้น

40 การดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
รู้ถึงความต้องการและความคาดหวัง การสานเสวนา (Social Dialogue) รวมทั้งวิธีอื่น ๆ เช่น การประชุม (เป็นและไม่เป็นทางการ) การสัมมนา การร่วมเป็นสมาชิก หรือ จัดตั้งเป็นสมาคม การสื่อสาร 2 ทาง นำไปสู่การดำเนินการต่อประเด็นต่างๆ ที่มีความสำคัญ

41 การนำ SR ไปปฏิบัติโดยทั่วไป
นำเข้าไปประยุกต์ใช้แบบบูรณาการกับ ระบบ นโยบาย โครงสร้าง เครือข่าย (networks) อาจมีบางกิจกรรมที่ต้องทำขึ้นใหม่ตามประเด็นต่างๆ ที่มีการระบุเพิ่มเติม

42 การสร้างความน่าเชื่อถือ
การจัดทำรายงาน การใช้ผล การรับรอง การพัฒนาและ การมีส่วนร่วม ของชุมชน สิทธิมนุษยชน ธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อม การปฏิบัติ ด้านแรงงาน องค์กร ประเด็น ด้านผู้บริโภค การปฏิบัติ ที่เป็นธรรม

43 ระบบการบริหารงาน (Management Systems) กับ 7 หัวข้อหลัก (Core subjects)
สิทธิมนุษยชน มรท. 8001 SA 8001 การพัฒนาและ การมีส่วนร่วม ของชุมชน สิทธิมนุษยชน ธรรมาภิบาล แรงงาน มอก.18001 มรท. 8001 สิ่งแวดล้อม การปฏิบัติ ด้านแรงงาน องค์กร สิ่งแวดล้อม ISO 14001 ISO 50001 ISO (GHG) ประเด็น ด้านผู้บริโภค การปฏิบัติ ที่เป็นธรรม ผู้บริโภค ISO 9001 Carbon Footprint ฉลากเขียว / เบอร์ 5

44 การทบทวนและปรับปรุง SR
วิเคราะห์ ประเมิน ทบทวนกิจกรรมต่างๆ ความก้าวหน้า การบรรลุตามวัตถุประสงค์ ทรัพยากรที่ใช้ เปรียบเทียบผลการดำเนินการกับองค์กรอื่น การเฝ้าระวัง หรือ การสังเกตการดำเนินการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีบทบาทด้วย หัวข้อ 7.7.1

45 เกณฑ์ข้อเสนออื่นๆ ที่เกี่ยวกับ SR
ปัจจัยต่างๆ ที่ควรนำมาพิจารณาประกอบ สอดคล้องกับหลักการของ SR แนวปฏิบัติที่น่าสนใจต่อองค์กร องค์กรที่พัฒนาและการควบคุมการใช้ ชื่อเสียง ความน่าเชื่อถือ และการได้รับการยอมรับ กระบวนการในการพัฒนา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ความโปร่งใส เปิดเผย เข้าถึงได้ ได้รับความร่วมมือจากประเทศที่พัฒนา หรือ กำลังพัฒนา รวบรวมเกณฑ์ข้อเสนออื่นๆ ไว้ใน Annex A

46 ความคาดหวังของสังคม กับ SR
ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความรอบคอบ โดยมีความเข้าใจเพิ่มขึ้นต่อ ความคาดหวังของสังคม โอกาสต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ SR ความเสี่ยงต่าง ๆ หากไม่มี SR ปรับปรุง แนวปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยง การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความน่าเชื่อถือ และ ความเป็นธรรมในการประสานงาน โดยการรับผิดชอบต่อการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง การแข่งขันที่เป็นธรรม และปลอดจากการทุจริต ความปลอดภัยและสุขลักษณะของคนงานทั้งชายและหญิง ทำให้องค์กรสามารถสรรหา (รับสมัคร-บรรจุ) จูงใจ และรักษาลูกจ้างของตนไว้ได้ ช่วยสร้างเสริม ชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือขององค์กรต่อสาธารณะชน ความจงรักภักดี ขวัญ และ กำลังใจของลูกจ้าง Box 3 Benefits of social responsibility By addressing these core subjects and issues, and by integrating social responsibility within its decisions and activities, an organization can achieve some important benefits, including: encouraging more informed decision making based on an improved understanding of the expectations of society, the opportunities associated with social responsibility and the risks of not being socially responsible; improving its risk management practices; enhancing the reputation of the organization and fostering greater public trust; improving the organization’s relationship with its stakeholders; enhancing employee loyalty and morale, improving the safety and health of female and male workers and impacting positively on an organization’s ability to recruit, motivate and retain its employees; achieving savings associated with increased productivity and resource efficiency, lower energy and water consumption, decreased waste, the recovery of valuable by-products and the increased availability of raw materials; improving the reliability and fairness of transactions through responsible political involvement, fair competition, and the absence of corruption; preventing or reducing potential conflicts with consumers about products or services; contributing to the long-term viability of the organization by promoting the sustainability of natural resources and environmental services; and contributing to the public good and to strengthening civil society and institutions.

47 ความคาดหวังของสังคม กับ SR (ต่อ)
ป้องกันและลดความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้บริโภคเกี่ยวกับสินค้าและการบริการ การประหยัด อันเป็นผลมาจาก การเพิ่มผลผลิต และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการใช้พลังงาน และการใช้น้ำ การลดลงของของเสีย (waste) การใช้ประโยชน์จากสินค้าพลอยได้ (by-products) การมีวัตถุดิบที่เพียงพอต่อการใช้งาน ช่วยสนับสนุน การคงอยู่ขององค์กรในระยะยาวโดยการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน การมีสินค้าสาธารณะ และทำให้สังคมและส่วนประกอบอื่น ๆ มีความเข้มแข็ง Box 3 Benefits of social responsibility By addressing these core subjects and issues, and by integrating social responsibility within its decisions and activities, an organization can achieve some important benefits, including: encouraging more informed decision making based on an improved understanding of the expectations of society, the opportunities associated with social responsibility and the risks of not being socially responsible; improving its risk management practices; enhancing the reputation of the organization and fostering greater public trust; improving the organization’s relationship with its stakeholders; enhancing employee loyalty and morale, improving the safety and health of female and male workers and impacting positively on an organization’s ability to recruit, motivate and retain its employees; achieving savings associated with increased productivity and resource efficiency, lower energy and water consumption, decreased waste, the recovery of valuable by-products and the increased availability of raw materials; improving the reliability and fairness of transactions through responsible political involvement, fair competition, and the absence of corruption; preventing or reducing potential conflicts with consumers about products or services; contributing to the long-term viability of the organization by promoting the sustainability of natural resources and environmental services; and contributing to the public good and to strengthening civil society and institutions.

48 ถาม – ตอบ


ดาวน์โหลด ppt มุมมอง ผลกระทบ และ ความคาดหวังของสังคม ที่มีต่อ CSR

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google