ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเรียนรู้ ตามรอยพระยุคลบาท
2
ความสำคัญ ๑. สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นสถาบันหลักที่บูรณาการสถาบันชาติ
๑. สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นสถาบันหลักที่บูรณาการสถาบันชาติ สถาบันศาสนาเข้าด้วยกัน ให้เป็นหนึ่งเดียวของความเป็นไท(ย) ๒. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเป็นแบบอย่างของผู้ครองตน ครองคน และครองงาน เพื่อสร้างประโยชน์แก่มวลมนุษยชาติ ๓. ทรงยึดมั่นในพระราชปณิธานอันเป็นพระปฐมบรมราชโองการในการ ครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม ๔. ท่านคือผู้ทำงานต่างพระเนตรพระกรรณพระราชา ควรต้องตามรอยพระ ยุคลบาท เพื่อผลสัมฤทธิ์ในภารกิจการบำบัดทุกข์ บำรุงสุขประชาชน
3
ธ ทรงเป็นกษัตริย์ยิ่งกษัตริย์ขัตติยราชย์ อันเป็นที่ยอมรับของคนทั้งโลก
The King of the World The King of the kings พระมหากษัตริย์โลก รางวัลเฉลิมพระเกียรติ ด้านการพัฒนาโครงการแห่งสหประชาชาติ United nations development programmed Award(UNDP) 3
4
การเรียนรู้ ตามรอยพระยุคลบาท เป็น วิชา เหนือ วิชา
5
กระบวนการในการเรียนรู้
การสนทนากลุ่ม (Facilitator)
6
วัตถุประสงค์ในการสนทนากลุ่ม
(Facilitator) ๑. ได้ฟังเรื่องใหม่ ๒. ได้ใส่ใจเรื่องเก่า ๓. ได้บรรเทาความกังขา ๔. ได้สัมมาทิฐิ ๕. ได้สติมั่นคง
7
สะท้อน องค์พระปฐม บรมราชโองการ พระราชดำริ พระราชดำรัส พระบรม
แนวทางการสนทนากลุ่ม สะท้อน องค์พระปฐม บรมราชโองการ พระราชดำริ พระราชดำรัส พระบรม ราโชวาท พระราชกรณีกิจ พระราชจริยวัตรฯลฯ สังเคราะห์ องค์พระปฐมบรมราชโองการ ฯลฯ สู่การครองตน ครองคน ครองงานตามรอย พระยุคลบาท
8
พระราชจรรยานุวัตรหลักที่ทรงใช้เป็นแนวทาง ในการครองตน ครองคน ครองงาน
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
9
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม ประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เพื่อ ประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
10
ทำไมคนเราต้องมีการเรียนรู้..?
11
พระราชดำรัส วัตถุประสงค์ของการศึกษา กล่าวโดยรวบยอด ก็คือ การทำให้บุคคล มีปัจจัยหรืออุปกรณ์ สำหรับชีวิตอย่างครบถ้วนเพียงพอ ทั้งในส่วนวิชาความรู้ ส่วนจิตใจ และคุณภาพความประพฤติ รวมทั้งความขยัน อดทน และความสามารถในอันที่จะนำความรู้ความคิดไปใช้ปฏิบัติงานด้วยตนเองให้ได้จริง ๆ เพื่อสามารถดำรงชีพอยู่ได้ด้วยความสุขความเจริญมั่นคง และสร้างสรรค์ประโยชน์ ให้แก่สังคมและบ้านเมืองได้ตามควรแก่ฐานะด้วย ๒๕ มิถุนายน ๒๕๒๓
12
จึงจะเรียกว่าการศึกษา..!!
อย่างไร ? จึงจะเรียกว่าการศึกษา..!!
13
การศึกษานั้น หมายความว่า การได้สังเกต
พระราชดำรัส การศึกษานั้น หมายความว่า การได้สังเกต ได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง แล้วนำมาคิดพิจารณาให้เห็น ประโยชน์ก็นับได้ว่าเป็นการศึกษาแล้ว 13
14
๑) มีสติปัญญาในขั้นพื้นฐานเพียงพอ = เรียนหนังสือ
วัตถุประสงค์ของศึกษา เพื่อให้มีปัจจัยหรืออุปกรณ์ที่พอเพียงสำหรับการดำเนินชีวิต ๑) มีสติปัญญาในขั้นพื้นฐานเพียงพอ = เรียนหนังสือ ๒) มีความรู้เรื่องอาชีพหรือวิชาชีพเพียงพอ = เรียนวิชาชีพ ๓) มีมนุษยธรรมเพียงพอ = เรียนจริยธรรมความเป็นมนุษย์ ๔) เพื่อนำไปใช้ทำหน้าที่ของสมาชิกของสังคม
15
๑. เป็นลูกที่ดีของพ่อแม่
17
พ่อแม่ ก็แก่เฒ่า จำจากเจ้า ไม่อยู่นาน..!!
18
๒. เป็นศิษย์ที่ดีของครู
19
“สิด”ที่ดีต้องมีการพัฒนา
ศิษฎิ การสอน,การปกครอง ลงโทษ ผู้บกพร่องในความประพฤติ ศิษย์ ผู้ศึกษาเล่าเรียนซึ่งอยู่ในความ ดูแล ศิษฏ์ ผู้ฝึกแล้ว,คงแก่เรียน,มีปัญญา สิต ขาว ยิ้มแย้มแจ่มใส สิทธ์ ผู้สำเร็จ สิทธิ์ ความสำเร็จ อิสระ อำนาจชอบธรรม
20
๓. เป็นเพื่อนที่ดีของเพื่อน
เขามีส่วน...
21
พระบรมราโชวาท “..ถ้าเธอต้องการชนะ ก็ย่อมมีแพ้ และเมื่อแพ้แล้วย่อมแพ้ทั้งสองฝ่ายไม่มีผู้ชนะ และคนที่จะแพ้ตลอดเวลาคือประชาชนของท่านเอง แต่ถ้าปรองดองกัน ก็มีแต่ชนะ..”
22
" ... การมีเพื่อนบ้านที่ดี ดีกว่าการ มีรั้วคอนกรีตที่มั่นคงแข็งแรง..."
พระราชดำรัส " ... การมีเพื่อนบ้านที่ดี ดีกว่าการ มีรั้วคอนกรีตที่มั่นคงแข็งแรง..."
23
๔. เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ
" ในบ้านเมืองนั้น... ๔. เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ
24
๕. เป็นศาสนิกชนที่ดีของศาสนา
25
พระราชดำรัส เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เพื่อมุ่งสู่การ..
26
รู้ รัก สามัคคี
27
รู้ รัก สามัคคี ตามรอยพ่อ เป็นอย่างไร?
๑. ต้องมีความรู้..? รู้ว่าอะไรดี - อะไรชั่ว ๒. ต้องมีความรัก..? รักที่จะเลือกทำความดี - ละเว้นความชั่ว ๓. ต้องมีความสามัคคี..? สามัคคีกันทำความดี - ละเว้นความชั่ว
28
๑. ไม่ทำความชั่วสนองความชั่ว
๒. ไม่ทำความชั่วสนองความดี ๓. ไม่ทำความชั่วกับคนที่ไม่เคยรู้จัก หรือเกี่ยวข้องกับเรา ๑. จงทำความดีสนองความดี ๒. จงทำความดีสนองความชั่ว ๓. จงทำความดีกับคนที่ไม่เคยรู้จัก หรือเกี่ยวข้องกับเรามาก่อน
29
พระบรมราโชวาท หน้าที่ของกระทรวงมหาดไทย พูดอย่างรวบรัด คือ การอำนวยความสุขสวัสดีแก่ทวยราษฎร์....ซึ่งจำแนกได้ 4 ด้าน คือ การอำนวยความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การพัฒนาอาชีพและฐานะความเป็นอยู่ การพัฒนาจิตใจให้อยู่ร่วมกันได้ด้วยความสุขและความสามัคคีปรองดอง และการให้การศึกษาเพื่อสร้างอนาคตที่แจ่มใส ซึ่งต้องมีกรมกองต่าง ๆ มารับไปปฏิบัติ ทั้งต้องพึ่งพิงอาศัยความร่วมมือจากกระทรวง ทบวง กรมอื่นอย่างกว้างขวางและใกล้ชิด...จึงจำเป็นต้องมีหลักปฏิบัติที่แน่นอนเป็นเครื่องยึดถือเป็นหลักการ คือ ๑. ต้องปฏิบัติงานให้ประสานสอดคล้อง และดำเนินก้าวหน้าไป ด้วยกันเสมอกัน พร้อมเพรียงกันทุกฝ่าย ๒. ต้องประสานงานกับทุกหน่วยงานด้วยความสมัครสมาน และความเข้าใจอันดีต่อกัน ๓. ต้องปฏิบัติการทุกอย่างด้วยความสุจริตเที่ยงตรง ถูกต้อง ชอบธรรม
30
พ.ศ. ๒๕๒๓ พระราชดำรัส "พ่อ" เคยพูดว่า...
ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ พ.ศ. ๒๕๒๓
31
๑๘ กันยายน ๒๕๐๔ พระบรมราโชวาท
"พ่อ" เคยสอนว่า... พระบรมราโชวาท การดำเนินชีวิต โดยใช้วิชาการอย่างเดียว ยังไม่เพียงพอ จะต้องอาศัยความรู้รอบตัวและหลัก ศีลธรรมประกอบด้วย ผู้ที่มีความรู้ดีแต่ขาดความ ยั้งคิด นำความรู้ไปใช้ในทางมิชอบ ก็เท่ากับเป็น บุคคลที่เป็นภัยแก่สังคมของมนุษย์ ๑๘ กันยายน ๒๕๐๔
32
สะท้อนสู่พระราชดำรัส
"เศรษฐกิจพอเพียง"
33
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน”ทางสายกลาง” โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัย...
34
ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี.
35
พระราชปณิธานของพ่อ ๑๒ ประการ
ไม่.... ขอ.... จะ....
36
จะฝึกฝน. ให้ตน. เป็นคนดี ใครนินทา. พาที. ก็ไม่ว่า ใครจะชิง. จะชัง
จะฝึกฝน ให้ตน เป็นคนดี ใครนินทา พาที ก็ไม่ว่า ใครจะชิง จะชัง ไม่นำพา ใครจะว่า อย่างไร ใจจะทน เขาจะไม่ สนับสนุน ก็ไม่ท้อ จะมุ่งก่อ กรรมดี ไม่มีบ่น จะขอทำ หน้าที่ ยอมพลีตน จะขาดคน มองเห็น ไม่เป็นไร จะปกบ้าน ป้องเมือง ให้ก้าวหน้า จะตามรอย พระมาตา ไม่หวั่นไหว จะยึดมั่น หลักธรรม ประจำใจ เป็นกุศล ถวายไท้ องค์ราชันย์
37
Tel :
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.