ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPutsaya Sirisopa ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การปนเปื้อนของธาตุโลหะหนักในดิน ของอำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร
การปนเปื้อนของธาตุโลหะหนักในดิน ของอำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร คณะทำงานวิจัย สำนักสำรวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน นายวิโรจน์ อิงคากุล นายสมปอง นิลพันธ์ สำนักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน ดร.อรทัย ศุกรียพงศ์
2
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
เพื่อศึกษาดินต่างๆของอำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร มีการปนเปื้อนของโลหะหนัก และปัญหาต่อสภาพแวดล้อมหรือไม่ เพื่อทำแผนที่การแพร่กระจายของธาตุโลหะหนัก เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานดิน
3
เหมืองทองคำที่จังหวัดพิจิตร
การทำเหมืองแร่ สาเหตุของผลกระทบสิ่งแวดล้อม
4
เหมืองทองที่ จังหวัดเลย
เหมืองสังกะสีผาแดง อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก
5
โลหะหนัก เป็นโลหะที่มี ถ.พ. มากกว่า 5.0 กรัม/ลบ.ซม.
การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม เกิดโดยธรรมชาติ และมนุษย์ เกิดโดยธรรมชาติ เกิดพร้อมแร่ เป็นเพื่อนแร่ เกิดโดยมนุษย์ เช่น สารเคมีการเกษตร ขยะโรงงาน แบตเตอรี
6
ลักษณะการเกิดโลหะหนักโดยธรรมชาติ
7
การปนเปื้อนของโลหะหนักที่เกิดในธรรมชาติ
8
วิธีการศึกษา อ. ทับคล้อ จ.พิจิตร เป็นพื้นที่ศึกษา
เก็บตัวอย่างดินในระดับ 0-30 ซม. ทั่วอำเภอทับคล้อได้ 234 ตำแหน่ง (วิธีการเก็บ) วิเคราะห์ตัวอย่างที่ สวด. ส่วนสิ่งแวดล้อมดิน โดย ICP (Inductive Couple Plasma) วิเคราะห์ธาตุ As Pb Cd Cu Zn
9
รูปแสดงตำแหน่งเก็บตัวอย่างดินตามสภาพพื้นที่ต่างๆ ใน อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร
10
ผลการศึกษา ค่า As เกินมาตรฐาน สวล. มี 174 ตัวอย่างจาก
234 ตัวอย่าง (ไม่เกิน 3.9 มก./กก.) ค่าเกินมาตรฐาน หน่วยงานเกษตรมี 2 ตัวอย่าง (30.35 และ 98.8) ค่า Pb อยู่ในมาตรฐาน สวล. (ไม่เกิน 400 มก./กก.) สำหรับมาตรฐานหน่วยงานเกษตร(ไม่เกิน 55 มก./กก.) มีเกิน 2 ตัวอย่าง ( และ 64.05) ค่า Cd Cu Zn ไม่เกินมาตรฐานของ สวล. และ หน่วยงานเกษตร
11
แผนที่แสดงปริมาณ As และ Pb
แผนที่แสดงการปนเปื้อนของตะกั่วในดิน อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร ผ
12
ธาตุโลหะหนัก ค่าเปรียบเทียบมาตรฐานของปริมาณโลหะหนักในดินในพื้นที่การเกษตร และที่อยู่อาศัย (มก./กก.) ประกาศของ สวล. ฉบับที่ 25 (1) กรมพัฒนาที่ดิน (2) กรมวิชาการเกษตร (3) As < 3.9 < 30 Pb < 400 < 55 Cd < 37 < 0.5 < 0.15 Cu -- < 45 Zn < 100 < 70
13
สรุป และวิจารณ์ พื้นที่อำเภอทับคล้อ ไม่มีปัญหาการปนเปื้อนของโลหะหนัก
มาตรฐานการปนเปื้อนของโลหะหนักของประกาศสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานการเกษตร มีความแตกต่าง ควรมีการศึกษาวิจัยว่าค่าไหนมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะด้านการเกษตร และสุขภาพอนามัยของคน
14
ความจำเป็นในการศึกษาโลหะหนัก
มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่น สุขภาพ ด้านการเกษตร ด้านเศรษฐกิจ สภาพพื้นที่ เพื่อศึกษาเป็นข้อมูลดิน สำหรับเผยแพร่ เพื่อทำมาตรฐานการปนเปื้อนของโลหะหนักในดิน
15
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.