ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ.ศ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 9 มีนาคม 2553
2
ผลประกอบการด้านเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพภาครัฐ ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ
IMD พิจารณาดัชนีจาก 4 องค์ประกอบหลักคือ ผลประกอบการด้านเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพภาครัฐ ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐาน โดยมี การศึกษา เป็นดัชนีหนึ่งในกลุ่มนี้
3
ดัชนีที่ใช้ในการจัดอันดับด้านการศึกษา
1.โอกาส ความเสมอภาค และทั่วถึง อัตราเข้าเรียนมัธยมสุทธิ อัตราการไม่รู้หนังสือของผู้ใหญ่ 2.คุณภาพการศึกษา อัตราส่วน นร./ครู ประถม อัตราส่วน นร./ครู มัธยม ผลสัมฤทธิ์ของอุดมศึกษา วิศวกรที่มีคุณวุฒิตาม ความต้องการของตลาดแรงงาน ทักษะด้านภาษาที่ตอบสนอง ความต้องการของผู้ประกอบการ ความสามารถใช้ภาษาอังกฤษ การประเมินผลสัมฤทธิ์ด้าน กศ. 3. ประสิทธิภาพการจัด กศ. การถ่ายโอนความรู้ระหว่างม.กับภาคธุรกิจ การจัดการด้านการศึกษา ที่ตอบสนองความต้องการภาคธุรกิจ การตอบสนองความสามารถแข่งขัน ของระบบการศึกษา ของกศ.ระดับมหาวิทยาลัย ร้อยละงบประมาณรายจ่ายด้าน กศ.(GDP) งบประมาณรายจ่ายด้าน กศ.ต่อหัว
4
สรุปผลการจัดอันดับในภาพรวม ไทยได้ที่ 26
5
ผลการจัดอันดับใน 4 องค์ประกอบหลัก
ผลประกอบการด้านเศรษฐกิจ อันดับ 14 ประสิทธิภาพภาครัฐ อันดับ 17 ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ อันดับ 25 โครงสร้างพื้นฐาน อันดับ 42
6
ผลการจัดอันดับภาพรวม ปี 2547 - 2552
7
ผลการจัดอันดับปี 2548 – 2552 เปรียบเทียบประเทศอาเซียน 5 ประเทศ
ผลการจัดอันดับปี 2548 – 2552 เปรียบเทียบประเทศอาเซียน 5 ประเทศ
8
ผลการจัดอันดับแต่ละตัวบ่งชี้
สัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีคนอายุ ปี จบอุดมศึกษา 18% อยู่อันดับที่ 43 ตกลง 4 อันดับ
9
ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย-อาเซียน
ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย-อาเซียน
10
2. คุณภาพการศึกษา การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันของระบบการศึกษา อยู่อันดับที่ 30 ตกลง 6 อันดับ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ –TOEFL เฉลี่ยได้ 72 คะแนน อันดับ 51 ทักษะด้านภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประกอบการ อยู่อันดับที่ 43 ตกลง 4 อันดับ
11
ผลสัมฤทธิ์ด้านการศึกษา -PISA เปรียบเทียบไทยกับนานาชาติ
12
การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันของระบบการศึกษา เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย-อาเซียน
13
ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ –TOEFL เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย-อาเซียน
14
3. ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
การถ่ายโอนความรู้ระหว่างมหาวิทยาลัยกับ ภาคธุรกิจ อยู่อันดับที่ 32 การลงทุนทางการศึกษา ต่อจีดีพี อันดับ 32 งบประมาณรายจ่ายต่อหัว อยู่อันดับที่ 52 การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย อันดับ 29 ตกลง 6 อันดับ
15
การลงทุนทางการศึกษา ต่อจีดีพี เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย-อาเซียน
การลงทุนทางการศึกษา ต่อจีดีพี เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย-อาเซียน
16
งบประมาณรายจ่ายต่อหัวต่ำ เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย-อาเซียน
งบประมาณรายจ่ายต่อหัวต่ำ เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย-อาเซียน
17
ดัชนีอื่นที่เกี่ยวข้อง
การสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน 4.6 (32) บุคลากรด้านวิจัยและพัฒนาต่อประชากร 1000 คน 0.7 (47) จำนวนผู้ใช้ Internet ต่อประชากร 1,000 คน 178 คน (52) ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.4 (45) จำนวนโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากร 1,000 คน 1,238 เครื่อง (12)
18
สรุป ความสามารถในการแข่งขันของไทยต่ำกว่าหลายประเทศ โดยเฉพาะมาเลเซียและจีน สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ยังไม่เป็นที่พอใจนัก ทั้งด้านโอกาส คุณภาพ และประสิทธิภาพ
19
ข้อเสนอแนะ เร่งปฏิรูปการศึกษา เน้น “คุณภาพ” ทั้งครู ผู้เรียน ระบบการศึกษา ปรับหลักสูตร การเรียนการสอน มุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยเฉพาะ คณิต-วิทย์ ภาษาอังกฤษ พัฒนาวิชาการให้เข้มแข็ง ควบคู่คุณธรรม จริยธรรม ให้เด็กดี เก่ง มีความสุข เรียนรู้ได้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ
20
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.