งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง
NCCIT 2012 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการประเมินตนเอง เชื่อมโยงระบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ระดับบุคคล กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง A Development of Self Assessment Report Database Integrated with Personal Electronic-Document : A Case study of Nation University in Lampang Province Room 5 17:10 – 17:30 NCCIT 9 May 2012 Tel บุรินทร์ รุจจนพันธุ์(Burin Rujjanapan)

2 ความเป็นมา พรบ.2542 กำหนดให้มหาวิทยาลัยรับการประเมินคุณภาพ ภายในตามองค์ประกอบของ สกอ. (ปีการศึกษา 2550) 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้ ให้มีการประเมินตนเองระดับคณะวิชา และมหาวิทยาลัย ให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในทุกปีการศึกษา ระบบฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงภายในและภายนอกเป็นตัวบ่งชี้

3 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมให้บุคลากร และคณะวิชา จัดเก็บข้อมูลการประเมินตนเอง เพื่อให้ผู้ประเมินตรวจสอบหลักฐาน การประกันคุณภาพมีความพึงพอใจ

4 วรรณกรรมอ้างอิง (1/2) หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ในพรบ. พ.ศ กำหนดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งภายในและภายนอก ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database System) ภาษาพีเอชพี (PHP) เอสคิวแอล (SQL) เอแจ็กซ์ (AJAX – Asynchronous Javascript And XML) ระบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic-Document)

5 วรรณกรรมอ้างอิง (2/2) กิตติยา สีอ่อน 2547 ได้วิจัยเกี่ยวกับโมเดลเชิงสาเหตุประสิทธิผล พบว่า ปัจจัยส่งผลต่อประสิทธิผล คือ ความตระหนักและทัศนคติต่อการประกันฯ ทำงานเป็นทีม การฝึกอบรม งบประมาณ วัฒนธรรมคุณภาพ ภาวะผู้นำ ขวัญชัย ผ่องญาติ และพงศ์วรวุฒิ สนธิโสภณ 2544 (มจพ) จัดทำโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยจัดเก็บข้อมูลการประกันคุณภาพการศึกษา พบว่า สามารถ เก็บข้อมูลได้ครบ สามารถจัดทำเอกสารส่วนสรุปได้ ธนาชัย บูรณะวัฒนากูล และประสงค์ ปราณีตพลกัง 2550 (มจร) ทำการพัฒนาระบบสารสนเทศบนเว็บในการประกันคุณภาพการศึกษา IPOI (Input Process Output Impact) พบว่า แสดงสถิติอย่างมีประสิทธิภาพ

6 วิธีดำเนินการวิจัย 1. ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น - ประชุมแลกเปลี่ยนในทีมวิจัย - ประชากรคือ อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ 100 คน - กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้รับผิดชอบระดับคณะ ผู้ประเมินภายใน และผู้เกี่ยวข้อง 2. วิเคราะห์และออกแบบระบบงานใหม่ - Relational Database - SQL - AJAX

7 วิธีดำเนินการวิจัย 3. พัฒนาโปรแกรมต้นแบบ แบ่งเป็น 2 ระบบหลัก 1) ระบบงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา 2) ระบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ ลำดับการใช้งาน - ระบบตรวจสอบสิทธิ์การเข้าใช้งาน - ระบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ - ระบบนำแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์เข้าตามเกณฑ์มาตรฐาน - ระบบรายงานเอกสารตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา 4. จัดอบรมการใช้งานและปรับปรุงโปรแกรม 5. เก็บข้อมูลความพึงพอใจด้วยแบบสอบถามหลังผ่านการประเมิน

8 ขั้นตอน

9 ผลการเชื่อมโยงกับระบบ SAR

10 ระบบ e-Document

11 ระบบฐานข้อมูลที่ให้บริการโดย สกอ.

12 ผลการดำเนินงาน พัฒนาระบบฐานข้อมูล ให้มีการเชื่อมโยง กับระบบแฟ้มดิจิทอลออนไลน์ ประเมินความพึงพอใจหลังใช้งานของคณะวิชา มีผลระดับมาก (X = 3.44 , S.D = 0.50) ประเมินความพึงพอใจหลังใช้งานของผู้ประเมิน มีผลระดับมาก (X = 2.21 , S.D = 1.61)

13 สรุป 1. คณะวิชา ยังขาดระบบและกลไกสำหรับขับเคลื่อนที่ชัดเจน
2. ผู้ประเมินจึงไม่สามารถใช้งานระบบได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ 1. ควรพัฒนาระบบฯ ที่ตอบสนองทุกระดับ และทั้งเกณฑ์ สมศ. และสกอ. 2. เสนอให้คณะวิชามีนโยบายการใช้งานระบบฯ อย่างเป็นรูปธรรม

14 ? คำถาม - ตอบ


ดาวน์โหลด ppt กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google