งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กับทักษะวิทยากรกระบวนการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กับทักษะวิทยากรกระบวนการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กับทักษะวิทยากรกระบวนการ
วิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กับทักษะวิทยากรกระบวนการ

2 วัตถุประสงค์ เพื่อให้วิทยากรโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ทักษะวิทยากรกระบวนการในการดำเนินงานโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตได้อย่างเหมาะสม

3 วิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กับทักษะวิทยากรกระบวนการ
วิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กับทักษะวิทยากรกระบวนการ ..เกี่ยวข้องกันอย่างไร..

4 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
ภารกิจของวิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 1.ให้ความรู้การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตแก่ผู้เข้าอบรม 3 หลักสูตร 2.ทำให้ผู้ผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรสามารถใช้ความรู้ ความสามารถสนับสนุนการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5 ทักษะ วิทยากรบรรยาย ทักษะ วิทยากรกระบวนการ

6 วิทยากร บรรยาย

7 วิทยากร กระบวนการ คือใคร
วิทยากร กระบวนการ คือใคร

8 วิทยากรกระบวนการ ผู้ที่ทำให้การอบรม การประชุม การพูดคุยในเรื่องนั้นๆเป็นไปตามกระบวนการที่กำหนดไว้ โดยใช้ความรู้ ความสามารถและวิธีการที่หลากหลายเพื่อทำให้ผู้เข้าประชุมแลกเปลี่ยนกันได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ

9 ใครเคยเป็น วิทยากรกระบวนการ
ใครเคยเป็น วิทยากรกระบวนการ

10 สถานการณ์ที่ต้องการ วิทยากรกระบวนการ
การประชุม/สัมมนา/การประชุมเชิงปฏิบัติการ 2. การฝึกอบรม 3. การสร้างทีมงาน 4. การแก้ไขปัญหา 5. การแก้ไขความขัดแย้ง 6. การประชุมแบบมีส่วนร่วม

11 บทบาทวิทยากรกระบวนการ
สิ่งที่วิทยากรกระบวนการ.ควรทำ. 1.ตั้งคำถามให้ช่วยกันค้นหาคำตอบ และเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 2.ให้คำแนะนำ/อธิบายแก่คนที่กำลังสงสัยไม่เข้าใจ ในสิ่งที่กำลังพูดอยู่ ทำให้ประเด็นที่ยาก ๆ กลายเป็นประเด็นที่เข้าใจง่าย 3.ท้าทายคนให้ใช้ศักยภาพ(ความสามารถ)ของตนอย่างเต็มที่

12 บทบาทวิทยากรกระบวนการ
5.มีอารมณ์ร่วมไปกับคนในเวที และพร้อมรับฟังความคิดเห็นรวมทั้งความรู้สึกของผู้อื่น 6.ไม่เคร่งเครียดและมีอารมณ์ขัน 4.ควบคุม/จัดการกับความไม่แน่นอนที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างไม่คาดฝัน เพื่อให้การประชุม/พูดคุยเป็นไปตามกระบวนการ

13 ทักษะ วิทยากรกระบวนการ ของวิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
ทักษะ วิทยากรกระบวนการ ของวิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

14 1. ทักษะการสร้างบรรยากาศ (บรรยากาศที่ปลอดภัย)

15 การสร้างบรรยากาศที่ปลอดภัย
1. ทักทาย ให้เกียรติ 2. พูดคุยเรื่องทั่วไป 3. ถามทุกข์สุข ความเป็นอยู่ของ คนในครอบครัว 4.ชมเชยสิ่งดี ๆที่พบ

16 2. ทักษะการตั้งคำถาม

17 ลักษณะประเด็นคำถามที่ดี
1. เป็นคำถามปลายเปิด ตอบได้อย่างอิสระ หลายแนวทาง เช่น ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร เพื่อใคร เป็นต้น 2.ไม่ควรเป็นคำถามซ้อนคำถาม ทำให้เข้าใจยาก สับสน เช่น “การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ฯที่ผ่านมาเป็นอย่างไร มีผลกระทบอะไรกับสมาชิกบ้าง” คำถามควรแยกเป็น คำถามที่ 1 “การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ที่ผ่านมาเป็นอย่างไร” คำถามที่ 2 “มีผลกระทบอะไรกับสมาชิก”

18 ลักษณะประเด็นคำถามที่ดี
3. คำถามเป็นกลาง ไม่ชี้นำ เช่น “การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงส่งผลดีต่อเราอย่างไรบ้าง ควรเปลี่ยนเป็น “การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงส่งผลอย่างไรกับตัวเรา” 4. คำถามกระตุ้นพลัง ให้ผู้เข้าอบรมเกิดพลัง มองเป้าหมายอย่างมีความหวัง เป็นคำถามเชิงบวก สร้างความรู้สึกที่ดี เช่น “เราควรปรับปรุงวิธีการดำรงชีวิตของเราอย่างไร เพื่อให้เราหลุดพ้นจากความยากจนโดยเร็ว”

19 3. ทักษะการฟัง

20 ทักษะการฟัง พร้อมที่จะฟัง
สนใจ ใส่ใจ ตั้งใจฟังขณะที่สมาชิกพูด (สบตา พยักหน้า) เมื่อฟังแล้วเข้าใจ/ไม่ชัดเจน ให้ถามเพื่อขยายความหรือให้กระจ่าง ไม่สอดแทรกหรือเสนอแนะในระหว่างที่ผู้อื่นพูด อย่าด่วนสรุปเรื่องที่ได้รับฟังมาอย่างง่ายดาย เปิดใจยอมรับความคิดเห็นที่หลากหลาย สรุปประเด็นหลักในการอภิปรายหรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

21 ในขณะที่กำลังฟังจงอย่า :
พยายามอ่านใจคนอื่น ๆ คุณแค่ซึมซับ คำพูดของคนอื่น ๆ ก็พอแล้ว คิดว่าคุณจะพูดอะไรต่อไป เลือกซึมซับข้อความที่คุณสนใจเท่านั้น ขัดจังหวะและพูดนอกเรื่อง ตอบแบบเป็นบวกแต่ขัดแย้งกับกิริยา ท่าทางหรือคำพูดของคุณเอง เหม่อลอย

22 4.ทักษะการควบคุมประเด็น

23 การควบคุมประเด็น 1.ตัดบท หากมีการพูด/ตอบคำถามเยิ่นเย้อ หรือออกนอกประเด็นอย่างนุ่มนวล 2.ควบคุมดูแลไม่ให้สมาชิกหันหน้าไปจับคู่คุยกันเองในขณะที่ผู้อื่นกำลังนำเสนอความคิด

24 5. ทักษะการเสริมกำลังใจ

25 การเสริมกำลังใจ 2.ด้วยท่าทาง เช่น ปรบมือ ยกนิ้ว ยิ้ม
1.ด้วยวาจา(คำพูด)ยกย่อง ชมเชยทันทีที่ทำหรือพูดได้ดี เช่น 1) เป็นความคิดที่ยอดเยี่ยมมาก 2) เป็นการกระทำที่เป็นแบบอย่างที่ดี 2.ด้วยท่าทาง เช่น ปรบมือ ยกนิ้ว ยิ้ม 3.ให้รางวัล เช่น หนังสือ พระ ขนม หรืออื่นๆ ที่เหมาะสม

26 6. ทักษะการสังเกต

27 การสังเกต 1.พฤติกรรมที่แสดงออกมา (ความสนใจ การมีส่วนร่วม)
1.พฤติกรรมที่แสดงออกมา (ความสนใจ การมีส่วนร่วม) 2.ปฎิกิริยาโต้ตอบ (การแสดงสีหน้า น้ำเสียงพูด คำตอบ เฉย) 3.ไม่ด่วนสรุปจากที่สังเกตเห็น 4.หาข้อมูลทางอื่นประกอบ

28 7. ทักษะการคลี่คลายข้อขัดแย้ง

29 การคลี่คลายข้อขัดแย้ง
1. มีกฎ กติกา การเรียนรู้ร่วมกัน เช่น 1) การเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น โดยไม่วิจารณ์ แต่ซักถามเพิ่มเติมเพื่อความชัดเจนได้ 2) พูดคุยกันด้วยเหตุผลมากกว่าการใช้อารมณ์ เป็นต้น 2. อย่านำคู่กรณีที่ขัดแย้งมาเผชิญหน้า และถกเถียงกันในระหว่างการพูดคุย

30 ทักษะการคลี่คลายข้อขัดแย้ง
3. รับฟังคนที่อยู่ในสถานการณ์ มากกว่าคนภายนอกที่ไม่รู้สถานการณ์ ปัญหา ของเรื่องนั้น ๆ ที่แท้จริง 4.ให้สมาชิกที่มีคุณวุฒิ วัยวุฒิ ได้รับความเชื่อถือมีความรู้อย่างดียิ่งในประเด็นนั้น เป็นผู้ให้ข้อมูลเพิ่มเติม 5.ให้สมาชิกกลุ่มหาข้อสรุปร่วมกันในการแก้ไขข้อขัดแย้ง

31 8.ทักษะการสรุปบทเรียน

32 การสรุปบทเรียน ทำเมื่อใด
1.สรุปใจความสำคัญของแต่ละตอนในระหว่างการพูดคุยกัน เช่น -สรุปแล้วปัญหาในการทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์ฯของบ้านขอนกว้าง ตำบลดงบัง จังหวัดปราจีนบุรีก็คือเจ้าหน้าที่ไม่มีความรู้ในเรื่องของการทำบัญชีอย่างชัดเจนและมีประสบการณ์น้อย -ถ้าจะถามต่อว่า…………………………..

33 การสรุปบทเรียน ทำเมื่อใด 2.สรุปเมื่อจบเนื้อหาหรือประเด็นทั้งหมด
- สำหรับการพูดคุยในวันนี้โดยสรุปก็คือปัญหาในการทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์ฯของบ้านขอนกว้าง ตำบลดงบัง จังหวัดปราจีนบุรีก็คือเจ้าหน้าที่ไม่มีความรู้ในเรื่องของการทำบัญชีอย่างชัดเจนและมีประสบการณ์น้อย วิธีการแก้ปัญหาก็คือส่งเจ้าหน้าที่ไปฝึกอบรมหลักสูตรการทำบัญชีโดยตรง ประสานเจ้าหน้าที่มาเป็นพี่เลี้ยงและได้ทำเป็นแผนปฏิบัติการไว้

34 9.ทักษะการสื่อสาร(การพูด)

35 การสื่อสาร(การพูด)ที่ดี
หมายถึง การใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง ในการสื่อความหมายแก่ผู้ฟัง เพื่อถ่ายทอดความรู้ความคิดและความต้องการที่เป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ฟังตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้อย่างครบถ้วน

36 หลักการสื่อสาร(การพูด)ที่ดี
สื่อความหมายชัดเจน ไม่กำกวม มีจุดหมายในการพูด เลือกใช้คำพูดให้เหมาะสม (เวลา สถานที่ บุคคล) ออกเสียงเน้นหนักเบา เร็วช้า ตามเรื่องเป็นธรรมชาติ มีชีวิตชีวา ขจัดคำพูดที่ไม่น่าฟัง สร้างความรำคาญ (เอ้อ อ้า แบบว่า เงียะ นะครับ นะคะ) 6.ทักทายให้เกียรติ ขอบคุณ ขอโทษ 7.สบตา ยิ้มแย้ม

37 ปัจจัย ที่ทำให้การพูดประสบความสำเร็จ
1. การทำให้เป็นส่วนหนึ่งของผู้ฟัง 2. การพูดในสิ่งที่ตรงกับความต้องการ 3. บุคลิกภาพของผู้โน้มน้าวใจ 4. ทัศนคติของผู้ฟัง 5. ชื่อเสียงของผู้โน้มน้าวใจ 6. การวางแผนการพูด

38 10.ทักษะการเขียนฟลิบชาร์ท

39 ทักษะการเขียนฟลิบชาร์ท
เขียนด้วยอักษรตัวโตๆสามารถ มองเห็นได้ชัดเจนทั่วห้อง 2. แยกสีปากกาให้เห็นชัดเจน 3. อ่านง่าย 4. เขียนเร็ว 5. เก็บข้อมูลสำคัญได้ครบถ้วน

40 3 ขั้นตอน ของวิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์
1.ขั้นเตรียมการ 2.ขั้นดำเนินการ 3.ขั้นหลังดำเนินการ

41 1. ขั้นเตรียมการ 1.ทำความเข้าใจเป้าหมาย/วัตถุประสงค์หลักสูตร หัวข้อวิชาและรายละเอียดเนื้อหา ให้ชัดเจน 2.มอบหมายหัวข้อวิชาวิทยากร 3.วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย 4.เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์สื่อ สถานที่ให้พร้อม 5.ซักซ้อมทำความเข้าใจในบทบาทของตนเองและทีมงานแต่ละคน 6.เตรียมสภาพร่างกายให้พร้อม

42 2. ขั้นดำเนินการ 1.แนะนำตัวและทีมงาน
2.ชี้แจงวัตถุประสงค์/เป้าหมายของหัวข้อวิชา 3.รูปแบบ/กติกาการพูดคุย 4.พูดคุยสร้างความคุ้นเคย 5.ดำเนินการตามกระบวนการ 6.สรุปภาพรวมเชื่อมโยงเข้าสู่วิชาต่อไป

43 3. ขั้นหลังดำเนินการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของทีมวิทยากรกระบวนการว่าอยู่ในระดับใด 2. วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ของผู้เข้าอบรมว่า เป็นอย่างไร 3. งานต้องทำต่อไปมีหรือไม่ (ติดตามผล) 4. ทีมงานมีข้อเสนออะไรดี ๆ ที่จะปรับปรุงหรือสานต่อบ้างหรือไม่ 5. สรุปรวบรวมผลการดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร

44 เคล็ดไม่ลับของวิทยากรกระบวนการ

45 ต้องอดทนต่อความเงียบ
ขาดความเข้าใจในคำถามหรือกระบวนการ เกิดความสับสน กำลังคิด ต้องการเวลาแปลความคิดออกมาเป็นคำพูด เบื่อ ความเงียบ

46 อย่าให้ใครเขาว่า เป็นวิทยากรกระบวนการ.. แบบ
จับเสือมือเปล่า สมาธิสั้น ไล่กัดหางตัวเอง เสื้อคับ (กร่าง) ฮิตเลอร์ เครื่องบินค้างฟ้า

47 วิทยากรกระบวนการ ….มืออาชีพต้อง….

48 เช็คก่อน ยิ้มก่อน ไหว้ก่อน ทักก่อน

49 ยิ้มง่าย สบายทัก รักผู้อื่น ตื่นเสมอ

50 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
ภารกิจของวิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 1.ให้ความรู้การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตแก่ผู้เข้าอบรม 3 หลักสูตร 2.ทำให้ผู้ผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรสามารถใช้ความรู้ ความสามารถสนับสนุนการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

51 …เชื่อมั่นว่า… ทักษะวิทยากรกระบวนการ เป็นปัจจัยหนึ่งที่สามารถทำให้การทำงานของวิทยากรโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์ประสบผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ

52 “ใจสู้หรือเปล่า ไหวไหมบอกมา โอกาสของผู้กล้า ศรัทธาไม่มีท้อ”

53

54 อย่าให้ปัญหาของเราทำให้คนอื่น เขาเบื่อหน่าย ถ้ามีใครมาถามเราว่า
"เป็นยังไงบ้างตอนนี้" ก็บอกเขาไปเลยว่า "สบายมาก"

55 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt วิทยากรโรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กับทักษะวิทยากรกระบวนการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google