ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNorrapon Yongchaiyudh ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
โดย อาจารย์สง่า ดามาพงษ์ 1
2
ประเด็น ความหมายและความจำเป็น การกำหนดนโยบาย การขับเคลื่อน
3
นโยบาย (Policy) คือ การตัดสินใจหรือทิศทาง ความตั้งใจที่จะทำในอนาคต
เป็นผลของตัดสินใจที่เกิดการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เป็นกฎกติกาหรือจุดยืนที่ใช้กำกับการตัดสินใจและปฏิบัติ
4
นโยบายสาธารณะ (Public Policy)
การตัดสินใจของรัฐหรือองค์กร ที่มีผลต่อประชาชนในประเทศ หรือ คนในองค์กร
5
การตัดสินใจของรัฐที่มีผลต่อ การพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทั่วไปให้ดีขึ้น
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ คือ (Healthy Public Policy , HPP) การตัดสินใจของรัฐที่มีผลต่อ การพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทั่วไปให้ดีขึ้น
6
นโยบายสาธารณะด้านโภชนาการ
(Nutrition Public Policy, NPP) คือ การตัดสินใจของรัฐที่มีผลต่อ การพัฒนาภาวะโภชนาการของประชาชนทั่วไปให้ดีขึ้น
7
ตัวอย่าง NPP นโยบายการขจัดโรคขาดสารอาหาร
นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน นโยบายการควบคุมภาวะโภชนาการเกิน (คนไทยไร้พุง) นโยบายการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
8
ความจำเป็นของการมี NPP
ปัญหาโภชนาการรุนแรงขึ้นและมีผลกระทบต่อประเทศ เป็นการสร้างระบบการจัดการกับปัญหาโภชนาการระดับชาติ เป็นการระดมทรัพยากรของชาติมาจัดการกับปัญหา
9
ถ้า ไม่มี NPP เกิดภาวะทุพโภชนาการรุนแรง สุขภาวะของประชาชนตกต่ำ
คนในชาติขาดคุณภาพ เป็นประเทศด้อยพัฒนา
10
การกำหนด NPP ต้องมีกลุ่ม/องค์กร เป็นแกนกลาง ทบทวนสถานการณ์และผลกระทบ
ศึกษาบทเรียน / ประสบการณ์ ทั้งภายในและต่างประเทศ
11
การกำหนด NPP วิเคราะห์ / กำหนดกรอบและทิศทาง
ลำดับความสำคัญของกรอบ / ทิศทาง กำหนดนโยบาย วางแผนการขับเคลื่อน
12
ประเด็นการกำหนด NPP ดึงประเด็นเด่นมาขับเคลื่อนก่อน
เป็นประเด็นเด่นที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม องค์ความรู้ต้องชัดเจนในประเด็นนั้น เป็นประเด็นที่เกิดความขัดแย้ง เป็นประเด็นที่ประชาชนได้ประโยชน์
13
กระบวนการขับเคลื่อน NPP
การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy formulation) กระบวนการขับเคลื่อน NPP การปฏิบัติตามนโยบาย (Policy implementation) การประเมินนโยบาย (Policy Evaluation)
14
การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ
สื่อสารสู่สาธารณะ (Public Communication) กำหนดเจ้าภาพ (Key Actors) แปลงนโยบายสู่แผนปฏิบัติ (Action Plan) การปฏิบัติตามแผน ควบคุม กำกับ และประเมินผล
15
ระดับของ NPP ระดับชาติ ระดับพื้นที่ (จังหวัด) ระดับชุมชน
16
ตัวอย่าง ประเด็น NPP เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว
ไอโอดีนมีคุณค่า เสริมปัญญาเด็กทุกวัน คนไทยไร้พุง มุ่งสู่สุขภาพดี ลดหวายมันเค็ม เติมเต็มผักผลไม้ นมไหนใครแน่ นมแม่แน่กว่าใคร
17
นโยบายสาธารณะชุมชนไอโอดีน
การตัดสินใจของรัฐที่มีผลต่อการพัฒนาให้เกิดชุมชนไอโอดีนจนทำให้คนไทยไม่ขาดไอโอดีน
18
การขับเคลื่อน นโยบายหมู่บ้านไอโอดีน
เป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้กำหนดนโยบายตระหนักเห็นความสำคัญ/จำเป็นกับการมีหมู่บานไอโอดีนจนนำไปสู่การกำหนดนโยบาย
19
ความจำเป็น ชุมชนไอโอดีน
เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายส่วนมาก มีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี เป็นการพัฒนาแบบพึ่งพาตนเองเพื่อ สู่ความยั่งยืน
20
ระดับนโยบาย ประเทศ จังหวัด ชุมชน/ท้องถิ่น
21
กระบวนการขับเคลื่อน มี 2 รูปแบบ ประเทศ ชุมชน ชุมชน ประเทศ
22
สร้างรูปแบบ ชุมชนไอโอดีนให้ชัด
กระบวนการขับเคลื่อน โครงสร้างชุมชน กิจกรรมต่อเนื่อง การมีส่วนร่วม (Win-Win) มาตรการทางสังคม การควบคุมกำกับ
23
การสนับสนุน พัฒนาศักยภาพคน สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง
กระตุ้นให้เกิดกิจกรรมต่อเนื่อง สนับสนุนสื่อ/วิชาการ
24
กลุ่มเป้าหมาย การสื่อสาร
สื่อสารท้องถิ่น/ชุมชน ผู้บริหาร/ผู้กำหนดนโยบาย ผู้นำชุมชน/ท้องถิ่น ผู้นำการเปลี่ยนแปลง แม่บ้าน/ครู
25
บทบาทนักวิชาการ สนับสนุนให้เกิดนโยบาย สนับสนุนวิชาการ
สนับสนุนให้เกิดเครือข่าย
26
ความคาดหวัง เกิดนโยบายทุกระดับ เกิดศูนย์เรียนรู้ เกิดชุมชนไอโอดีน
เกิดการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง ปี 2558 มหกรรมไอโอดีนแห่งชาติ
27
ขอบ คุณ ครับ สวัสดี นายสง่า ดามาพงษ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.