ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
กองสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
2
ประเภทน้ำบริโภคในโรงเรียน
กรุงเทพมหานคร น้ำบรรจุขวด 2 % น้ำประปา 98 จังหวัดต่างๆ น้ำบรรจุขวด 4 % น้ำฝน 19 น้ำบ่อบาดาล 16 น้ำบ่อตื้น 6 น้ำประปา 55
3
คุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน
4
คุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน
กรุงเทพมหานคร 85 15 จังหวัดต่างๆ 65 35 ปนเปื้อนแบคทีเรีย ไม่ปนเปื้อนแบคทีเรีย ปนเปื้อนแบคทีเรีย ไม่ปนเปื้อนแบคทีเรีย
5
จุดบริการน้ำดื่ม
6
ความสะอาดบริเวณจุดบริการน้ำดื่ม
7
การปรับปรุงคุณภาพน้ำก่อนนำมาบริโภค
8
ภาชนะสำหรับดื่มน้ำ
9
ผู้รับผิดชอบในการจัดหาน้ำดื่ม
10
สรุปสาเหตุ แหล่งน้ำ ระบบบริการ โครงสร้าง การจัดการ
น้ำฝน น้ำบ่อตื้น น้ำบ่อบาดาล น้ำประปา น้ำบรรจุขวด แหล่งน้ำ ตู้น้ำ ก๊อก ภาชนะใส่น้ำ/ดื่มน้ำ ระบบบริการ สรุปสาเหตุ แนวท่อ เครื่องกรองน้ำ ที่เก็บน้ำ โครงสร้าง การจัดการ การบริหาร สังคม
11
แนวทางการพัฒนา การปรับปรุงทางด้านโครงสร้าง การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค
วิจัย (รูปแบบการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน) โครงการนำร่อง (โครงการน้ำดื่มสะอาด ปลอดภัย สุขาน่าใช้ในโรงเรียน : พื้นที่จังหวัดประสบภัยสึนามิ) น้ำประปาโรงเรียนดื่มได้
12
การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่มในโรงเรียน (โดย-เพื่อ-ของนักเรียน)
นักเรียนแกนนำ ผู้สนับสนุน ตรวจคุณภาพน้ำดื่ม เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ประสานงาน ดูแล บำรุงรักษา แจ้งเหตุ บันทึกการปฏิบัติงาน รายงานผล เป็นแบบอย่าง ผู้บริหาร ครู ภารโรง ผู้ประกอบการร้านค้า ชุมชน นักวิชาการ อปท.
13
ขั้นตอนการดำเนินงานน้ำประปาโรงเรียนดื่มได้
- โครงสร้าง - การบริหารจัดการ - การบำรุงรักษา ปรับปรุง ระบบประปาโรงเรียน ประสานงานศูนย์อนามัย ปรับปรุง เก็บ ต.ย. น้ำครั้งที่ 1 ตกลง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน วิเคราะห์ LAB กรมอนามัย ปรับปรุง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 เดือน และไม่เกิน 2 เดือน เก็บ ต.ย. น้ำครั้งที่ 2 ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน วิเคราะห์ LAB กรมอนามัย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน รวบรวมผลวิเคราะห์ โรงเรียน ศูนย์อนามัย กรมอนามัยรับรอง วุฒิบัตร ประกาศน้ำประปาโรงเรียนดื่มได้ ประชาสัมพันธ์ เฝ้าระวังคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
14
กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี
น้ำดื่ม-น้ำใจ กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.