งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
ภาคเรียนที่ 1/2555 วิชา Research Methodology รองศาสตราจารย์นภัทร วัจนเทพินทร์

2 ความหมายของเครื่องมือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต
ชนิดของเครื่องมือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูล แบบฝึกหัด

3 ความหมายของเครื่องมือ
อุปกรณ์ เครื่องมือวัด หรือแบบวัดต่างๆ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เพื่อการวิจัย

4 ความหมายของเครื่องมือ
เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ เครื่องวัดปริมาณ ความสูง อุณหภูมิ วัดระดับน้ำตาลในเลือด วัดความเข้มของสนามแม่เหล็ก วัดกระแสไฟฟ้า เป็นต้น 2. เครื่องมือวัดทางสังคมศาสตร์ แบบสอบถาม(Questionnaire) แบบทดสอบ(Test) แบบสัมภาษณ์(Interview form) แบบสังเกต(Observation form)

5 แบบสอบถามผสม ทั้งปลายปิดและปลายเปิด
ชนิดของเครื่องมือ แบบสอบถาม คือ ชุดของคำถาม ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ที่ได้มาจากผู้ถูกสอบถามโดยตรง แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ แบบสอบถามปลายปิด แบบสอบถามปลายเปิด แบบสอบถามผสม ทั้งปลายปิดและปลายเปิด

6 ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม
เตรียมข้อมูล พิจารณาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและวัตถุประสงค์ของการวิจัย ตัวแปรต่างๆ และกลุ่มตัวอย่างคือใคร ฯลฯ เลือกชนิดของคำถาม ปลายเปิด ปลายปิด กำหนดคำถาม เรียงตามความต้องการถามจากมากที่สุดลงมา ร่างแบบสอบถาม จัดทำแบบสอบถามฉบับร่าง ตรวจสอบคุณภาพ (1)ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ (2)นำไปทดลองใช้ (3)วิเคราะห์ผล และปรับปรุง จัดพิมพ์แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์

7 ตัวอย่างแบบสอบถาม

8

9

10

11 แบบสอบถามที่นิยมใช้ แบบวัดเจตคติแบบของ ลิเคอร์ท (Likert)
เป็นแบบที่นิยมใช้กันมาก โดยให้ระดับการวัดออกเป็น 5 ช่วง คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง = 5 เห็นด้วย = 4 ไม่แน่ใจ = 3 ไม่เห็นด้วย = 2 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง = 1

12 ตัวอย่าง แบบสอบถาม

13 แบบสัมภาษณ์ 2. แบบสัมภาษณ์ เป็นชุดของคำถามที่ใช้ถามและจดบันทึกคำตอบของการสัมภาษณ์ โดยผู้สัมภาษณ์เป็นผู้บันทึกคำตอบ ซึ่งอาจสัมภาษณ์ รายบุคคล หรือรายกลุ่ม ก็ได้

14 ตัวอย่างแบบสัมภาษณ์ อาจารย์ช่างอุตสาหกรรมเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์กับวิชาคำนวณช่างอุตสาหกรรม

15 แบบสังเกต การแสดงออก ทักษะ ความสามารถในการปฏิบัติงาน เป็นต้น
3. แบบสังเกต เป็นเครื่องมือวัดพฤติกรรมของบุคคล ที่แสดงออกมา โดยอาศัยการรับรู้ของผู้สังเกตเป็นหลัก เหมาะสำหรับประเมิน กระบวนการ การกระทำ การแสดงออก ทักษะ ความสามารถในการปฏิบัติงาน เป็นต้น

16 ตัวอย่างแบบสังเกต

17

18 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ทบทวนวัตถุประสงค์ สมมติฐาน และแบบการวิจัย
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล (ลัดดาวัลย์ 2547) 1. ทบทวนวัตถุประสงค์ สมมติฐาน และแบบการวิจัย 2. สำรวจรายละเอียดเบื้องต้น 3. วางแผนเก็บ รวบรวมข้อมูล 4. การเตรียมความพร้อมของผู้เก็บข้อมูล 5. ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 6. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 7. การเตรียมข้อมูลก่อน นำไปวิเคราะห์ข้อมูล

19 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ทบทวนวัตถุประสงค์ สมมติฐาน และแบบการวิจัย เพื่อให้เข้าใจ ในงานที่ทำ และ เก็บข้อมูลได้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย และได้คำตอบตรงตามสมมติฐาน 2. สำรวจรายละเอียดเบื้องต้น เพื่อให้รู้ว่าจะเก็บข้อมูลอย่างไร แบ่งกลุ่มอย่างไร สุ่มตัวอย่าง อย่างไร

20 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3. วางแผนเก็บ รวบรวมข้อมูล จะเก็บจากบุคคล จากเอกสาร จำนวนข้อมูลที่เก็บ วิธีการเก็บข้อมูล เช่น ทางโทรฯ ทางไปรษณีย์ หรือ เก็บด้วยตนเอง หรือ ทีมงาน 4. การเตรียมความพร้อมของผู้เก็บข้อมูล ต้องอบรม วิธีการเก็บข้อมูลให้ ตัวแทน หรือทีมงาน เข้าใจในวัตถุประสงค์ และซักซ้อมความเข้าใจ ฯลฯ

21 การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามแผนที่ได้วางไว้ ควรมีการนัดหมายและเก็บข้อมูลให้ได้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ 6. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ว่าครบถ้วน ถูกต้อง ขาด เกินหรือไม่ หากไม่ครบ ควรจัดเก็บเพิ่มเติม 7. การเตรียมข้อมูลก่อน นำไปวิเคราะห์ข้อมูล ใช้เฉพาะข้อมูลที่ครบถ้วน เท่านั้นนำไปวิเคราะห์

22 ข้อดี-ข้อเสีย ของการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบต่างๆ

23

24

25 แบบฝึกหัด Work sheet 7-1 การสร้างแบบสอบถาม ฉบับร่าง โดยใช้แบบฝึก ร่าง แบบสอบถาม (30 นาที) จบ บทที่ 7


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google