ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
“ รางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน ประจำปี พ.ศ.2554” กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม 1 1
2
2. เงื่อนไขการจัดทำข้อเสนอเพื่อขอรับรางวัล 3. แนวทางการจัดทำรายงาน
การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน 1. ประเภทรางวัล 2. เงื่อนไขการจัดทำข้อเสนอเพื่อขอรับรางวัล 3. แนวทางการจัดทำรายงาน 4. เกณฑ์การพิจารณารางวัล 5. เกณฑ์การตรวจประเมิน
3
1) ประเภทรางวัล 1) รางวัลรายกระบวนงาน 2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน
3) รางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วน ราชการ 4) รางวัลนวัตกรรมการให้บริการ
4
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล 1) รางวัลรายกระบวนงาน 1. เป็นกระบวนงานที่เสนอลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงานในปีใดก็ได้ 2. เป็นกระบวนงานหลักที่สำคัญที่ประชาชนใช้บริการจำนวนมาก หรือ ผลการพิจารณาส่งผลกระทบต่อประชาชนจำนวนมาก 3. เป็นกระบวนงานที่มีมาตรฐานบริการไม่ต่ำกว่ากระบวนการเดียวกัน ที่เคยได้รับรางวัลในปีก่อนๆ 4. เป็นกระบวนงานที่หน่วยงานบริการนั้นยังไม่เคยได้รับรางวัลดีเด่นมาก่อน
5
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล
2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน 1. ส่วนราชการ (กรม) เท่านั้น เป็นผู้เสนอขอรับรางวัล 2. เป็นกระบวนงานหลักที่มีความสำคัญ 3. เป็นกระบวนงานที่มีหน่วยบริการไม่น้อยกว่า 5 แห่ง 4. พิจารณาจากผลงานในทุกหน่วยบริการ ซึ่งอาจมีทั้งในส่วนกลาง (กรม) และส่วนภูมิภาค
6
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล
3) รางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วนราชการ 1. เป็นกระบวนงานที่มีลักษณะการบริการที่ต้องผ่านการพิจารณาหลายส่วนราชการ 2. เป็นกระบวนงานที่มีขั้นตอนการดำเนินการผ่านการพิจารณาอย่างน้อย 3 ส่วนราชการ (กรม/จังหวัด)
7
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล
2) เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อขอรับรางวัล 4) เกณฑ์การพิจารณารางวัลนวัตกรรมการให้บริการ 1. การสร้างสรรค์งานบริการใหม่ที่สามารถสร้างประโยชน์กับประชาชน 2. สร้างสรรค์วิธีการทำงานในเรื่องขั้นตอนการทำงานหรือวิธีการปฏิบัติใหม่ ในกระบวนการให้บริการที่สามารถลดเวลาและขั้นตอนอย่างเฉียบพลัน 3. เป็นการนำเทคโนโลยีใหม่มาปรับใช้ในการให้บริการหรือการเพิ่มช่องทาง และรูปแบบการให้บริการ 4. เป็นการเพิ่มคุณลักษณะใหม่ให้กับงานบริการเดิม ซึ่งเป็นการเพิ่มรูปแบบ การเข้าถึงงานบริการ กระบวนงานที่กรมเสนอเข้าประกวด -
8
3) แนวทางการจัดทำรายงาน
1) รางวัลรายกระบวนงาน เตรียมข้อมูล รายงานผลการดำเนินงานเชิงปริมาณ (แบบฟอร์ม 1.1 ) รายงานผลดำเนินงานเชิงคุณภาพ (แบบฟอร์ม 1.2 ) รายงานผลการประเมินตนเอง (แบบฟอร์ม1.3) ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด
9
3) แนวทางการจัดทำรายงาน
2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน เตรียมข้อมูล รายงานผลการดำเนินงานเชิงปริมาณ (แบบฟอร์ม 2.1 ) รายงานผลดำเนินงานเชิงคุณภาพ (แบบฟอร์ม 2.2 ) รายงานผลการประเมินตนเอง (แบบฟอร์ม2.3) ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด
10
ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด
3) แนวทางการจัดทำรายงาน 3) รางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วนราชการ เตรียมข้อมูล จัดทำรายงานผลการดำเนินงานเพื่อขอรับรางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วนราชการ (แบบฟอร์ม 3.1 ) ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด
11
3) แนวทางการจัดทำรายงาน
4) รางวัลนวัตกรรมให้บริการ เตรียมข้อมูล จัดทำรายงานนวัตกรรมให้บริการของกระบวนการที่กรมประสงค์ที่เสนอเพื่อขอรับรางวัล (แบบฟอร์ม 4.1 ) รายงานผลการประเมินตนเอง (แบบฟอร์ม4.2) ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในเวลาที่กำหนด
12
4) เกณฑ์การพิจารณารางวัล
รางวัลรายกระบวนงาน รางวัลภาพรวมกระบวนงาน และรางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วนราชการ แบ่งออก เป็น 2 เกณฑ์ คือ 1. เกณฑ์การพิจารณาเชิงปริมาณ มี 4 มิติ รวม 400 คะแนน คือ มิติระยะเวลาที่ลดลง (100 คะแนน) มิติความพึงพอใจของประชาชน (100 คะแนน) มิติการอำนวยความสะดวก (100 คะแนน) มิติจำนวนผู้มาใช้บริการต่อหน่วยเวลา (100 คะแนน) 2. เกณฑ์การพิจารณาเชิงคุณภาพ มี 4 มิติ รวม 600 คะแนน คือ มิติด้านกระบวนการในการลดขั้นตอนและระยะเวลา (200 คะแนน) มิติด้านการให้ความสำคัญกับประชาชนและการบริการ (150 คะแนน) มิติด้านการอำนวยความสะดวก (150 คะแนน) มิติด้านการส่งเสริมการปฏิบัติงานของผู้บริหารและการเรียนรู้ (100 คะแนน)
13
4) เกณฑ์การพิจารณารางวัล
รางวัลนวัตกรรมการให้บริการ มีเกณฑ์การพิจารณาแยกเป็น 2 มิติ ดังนี้ 1) มิติด้านระดับความใหม่และระดับความคิดสร้างสรรค์ มีคะแนน 500 คะแนน โดยพิจารณาจาก - การสร้างสรรค์งานบริการใหม่ - การสร้างสรรค์วิธีการทำงานใหม่ - การนำเทคโนโลยีใหม่มาปรับใช้ - การเพิ่มคุณลักษณะใหม่โดยเน้นการทำงานเชิงรุก
14
4) เกณฑ์การพิจารณารางวัล
2) มิติด้านผลการดำเนินงาน มี 500 คะแนน แนวทางการพิจารณาประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ด้านประสิทธิภาพ มีคะแนน 250 คะแนน โดยการพิจารณาจะให้ความสำคัญกับเรื่อง - การลดบุคลากรและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน - ลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน ด้านคุณภาพ มีคะแนน 250 คะแนน โดยพิจารณาจะให้ความสำคัญกับเรื่อง - การยกระดับความพึงพอใจของประชาชน - การอำนวยความสะดวกในด้านการตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและความเสมอภาค
15
5) เกณฑ์การตรวจประเมิน
แนวทางการตรวจประเมินเพื่อให้รางวัล ตรวจประเมินจากรายงานผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ ระยะที่ 1 ผลงานเชิงปริมาณ (400 คะแนน) ผลงานเชิงคุณภาพประกอบกับผลการประเมินตนเอง (600 คะแนน) ตรวจเยี่ยมผลการปฏิบัติงานจริง ปรับลดคะแนนตามสัดส่วนตัวคูณ (คะแนนที่ได้จากระยะที่ 1 คูณด้วยสัดส่วนตัวคูณ) เกณฑ์การปรับลดคะแนน ระยะที่ 2
16
5) เกณฑ์การตรวจประเมิน
การตรวจประเมินกระบวนงานที่เสนอขอรับรางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชนทุกประเภท รางวัลกำหนดเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 : ตรวจประเมินจากรายงานผลการดำเนินงานของส่วนราชการ (คะแนนเต็ม 1000 คะแนน) เป็นการตรวจประเมินที่พิจารณาจากเอกสารหลักฐานสำคัญต่างๆ ที่บ่งชี้ว่าส่วนราชาการได้รายงานผลการดำเนินการอย่างถูกต้อง ได้แก่ เอกสารการจดบันทึกเกี่ยวกับขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินการสำหรับกระบวนงานที่ขอรับการประเมินเอกสารที่เกี่ยวกับการวัดความพึงพอใจของประชาชน สิ่งอำนวยความสะดวกที่สำคัญ สถิติผู้รับบริการโดยเฉลี่ยต่อวัน
17
5) เกณฑ์การตรวจประเมิน
ระยะที่ 2 : ตรวจเยี่ยมประเมินจากการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ของหน่วยงาน ที่ได้คะแนนการตรวจประเมินระยะที่ 1 มากกว่า 750 คะแนน โดยเป็นการตรวจประเมินผลการปฏิบัติงานจริงเปรียบเทียบกับรายงานการประเมินตนเองของส่วนราชการ ซึ่งมีแนวทางการพิจารณา ดังนี้ 1. หากผลการตรวจประเมินการปฏิบัติงานจริงไม่พบความเบี่ยงเบนจากการรายงานประเมินตนเองก็ได้คะแนนเท่ากับที่ผู้ตรวจประเมินให้ไว้จากการตรวจประเมินระยะที่ 1 2. หากผลการตรวจประเมินการปฏิบัติงานจริงพบความเบี่ยงเบนในทางลบ เมื่อเปรียบเทียบกับรายงานประเมินตนเอง ก็ให้ปรับลดคะแนนลงตามสัดส่วน
18
5) เกณฑ์การตรวจประเมิน ระดับความเบี่ยงเบนที่พบ
เกณฑ์การให้คะแนน ตัวคูณ ระดับความเบี่ยงเบนที่พบ 1 ไม่พบความเบี่ยงเบน 0.95 – 0.85 พบความเบี่ยงเบนแต่ไม่มีนัยสำคัญ 0.80 – 0.70 พบความเบี่ยงเบนที่อาจส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ 0.60 – 0.40 พบความเบี่ยงเบนที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ 0.30 – 0.10 พบความเบี่ยงเบนที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถืออย่างรุนแรง
19
Q & A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.