งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.จักรกริช โง้วศิริ ผู้จัดการกองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

2 นโยบายวัคซีนไข้หวัดใหญ่
ในระบบUC คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีมติเห็นชอบให้ขยายสิทธิประโยชน์การให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ ผส.อายุ > 65 ปี และป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 7 โรค ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีอายุ < 65 ปี ผส.ที่มีอายุ > 65 ปี ที่ไม่มีโรคเรื้อรัง

3 งบประมาณ&เป้าหมาย ปี 2551 ปี 2552 เป้าหมาย
อายุ > 65 ปี และป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 7 โรคจำนวน 400,000 ราย ทุกกลุ่มอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 7 โรคจำนวน 1,798,872 ราย งบประมาณ 103,320,000 357,397,600

4 จำนวนการฉีดแยกรายโรค
ผลงานปี 2551 สาขาเขต ยอดจัดสรร จำนวนการฉีดแยกรายโรค รวม ร้อยละ COPD Asthma HD CVD CKD Chemo DM เชียงใหม่ 12,340 5,407 828 488 384 80 1,721 8,908 72.19 พิษณุโลก 5,930 1,180 702 308 204 36 1,326 3,756 63.34 นครสวรรค์ 5,170 721 400 267 70 4 1,053 2,515 48.65 สระบุรี 9,810 1,250 862 974 222 29 2,864 6,201 63.21 ราชบุรี 10,630 1,083 1,514 628 162 25 1,828 5,240 49.29 ระยอง 10,420 921 759 291 234 19 1,801 4,025 38.63 ขอนแก่น 8,220 2,242 1,010 775 580 11 2,269 6,887 83.78 อุดรธานี 7,210 997 548 315 344 20 1,843 4,067 56.41 นครราชสีมา 8,910 1,592 807 644 347 72 2,567 6,029 67.67 อุบลราชธานี 6,190 735 541 364 12 1,689 3,829 61.86 สุราษฎร์ธานี 9,360 1,275 490 563 99 14 1,528 3,969 42.40 สงขลา 8,010 1,441 385 443 91 9 987 3,356 41.90 กรุงเทพฯ 17,310 699 1,414 878 345 102 2,010 5,448 31.47 119,510 19,543 10,260 6,938 3,570 433 23,486 64,230 53.74 แหล่งข้อมูลผลงานจาก website วัคซีนไข้หวัดใหญ่และรายงาน Flu3

5 ผลการให้บริการสูงสุด ต่ำสุด และค่าเฉลี่ยแยกรายสาขาเขต
ผลงานสูงสุด(%) ผลงานต่ำสุด(%) ค่าเฉลี่ย(%) เชียงใหม่ น่าน (192.89%) เชียงใหม่ (19.54%) 72.19 พิษณุโลก เพชรบูรณ์ (73.66%) สุโขทัย (39.36%) 63.34 นครสวรรค์ กำแพงเพชร (97.29%) นครสวรรค์ (23.74%) 48.65 สระบุรี สิงห์บุรี (100.56%) นครนายก (26.81%) 63.21 ราชบุรี กาญจนบุรี (87.70%) สมุทรสงคราม (14.47%) 49.29 ระยอง ปราจีนบุรี (63.98%) สมุทรปราการ (22.21%) 38.63 ขอนแก่น มหาสารคาม (96.47%) กาฬสินธุ์ (48.16%) 83.78 อุดรธานี หนองคาย (66.34%) หนองบัวลำภู (25.53%) 56.41 นครราชสีมา บุรีรัมย์ (82.10%) นครราชสีมา (59.95%) 67.67 อุบลราชธานี มุกดาหาร (85.37%) อำนาจเจริญ (55.60%) 61.86 สุราษฎร์ธานี พังงา (85.88%) ภูเก็ต (18.11%) 42.40 สงขลา ยะลา (70.65%) นราธิวาส(23.53%) 41.90 กรุงเทพฯ 31.47 รวม 53.74 แหล่งข้อมูลผลงานจาก website วัคซีนไข้หวัดใหญ่และรายงาน Flu3

6 จังหวัดที่มีผลงานสูงสุด 10 อันดับ
ร้อยละ น่าน 192.89 พะเยา 159.89 ลำพูน 104.38 สิงห์บุรี 100.56 เชียงราย 100.05 กำแพงเพชร 97.29 มหาสารคาม 96.47 สระบุรี 94.84 ขอนแก่น 90.08 กาญจนบุรี 87.70

7 ร้อยละการฉีดแยกรายโรค
สัดส่วนการฉีดวัคซีนแยกรายโรคจำแนกรายเขต สาขาเขต ร้อยละการฉีดแยกรายโรค COPD Asthma HD CVD CKD CA on Chemo DM เชียงใหม่ 60.70 9.30 5.48 4.31 0.90 19.32 พิษณุโลก 31.42 18.69 8.20 5.43 0.96 35.30 นครสวรรค์ 28.67 15.90 10.62 2.78 0.16 41.87 สระบุรี 20.16 13.90 15.71 3.58 0.47 46.19 ราชบุรี 20.67 28.89 11.98 3.09 0.48 34.89 ระยอง 22.88 18.86 7.23 5.81 44.75 ขอนแก่น 32.55 14.67 11.25 8.42 32.95 สกลนคร 24.51 13.47 7.75 8.46 0.49 45.32 นครราชสีมา 26.41 13.39 10.68 5.76 1.19 42.58 อุบลราชธานี 19.20 14.13 9.51 12.74 0.31 44.11 สุราษฎร์ธานี 32.12 12.35 14.18 2.49 0.35 38.50 สงขลา 42.94 11.47 13.20 2.71 0.27 29.41 กรุงเทพฯ 12.83 25.95 16.12 6.33 1.87 36.89 รวม 30.43 15.97 10.80 5.56 0.67 36.57

8 การดำเนินงานปี 2552

9 วัตถุประสงค์ เพื่อให้บริการวัคซีนได้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด
ลดอัตราการสูญเสียวัคซีน ลดอัตราป่วยจากภาวะแทรกซ้อนของโรคไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย

10 เป้าหมาย/ตัวชี้วัด ปี 2552
1. ร้อยละความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในกลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่า 90% 2. อัตราการสูญเสียวัคซีน ไม่เกิน 5%

11 กิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมดำเนินการ ขั้นเตรียมการก่อนรณรงค์
การจัดซื้อ จัดส่ง และกระจายวัคซีน จัดส่งวัคซีนเป็น 2 งวด งวด พ.ค.52 งวด พ.ค.52 การสำรวจ นัดหมายและจัดทำแผนการรณรงค์ให้วัคซีน 20 ม.ค.-31 พ.ค.52 ประชุมคณะกรรมการฯคณะทำงานต่างๆ ม.ค.-มิ.ย.52 ประชุมชี้แจงพื้นที่* มี.ค. – เม.ย. 52 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ มิ.ย.-ก.ค.52 ประชุมกลุ่มผู้บริหาร 26 ก.พ.52 ประชุมระดับผู้ปฏิบัติ 4 ภาค (เหนือ 5 มี.ค, ใต้ 11 มี.ค, กลาง 26 มี.ค., ตะวันออกเฉียงเหนือ 9เม.ย.52

12 กิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมดำเนินการ (ต่อ) ช่วงรณรงค์และติดตามประเมินผล
ช่วงรณรงค์ให้วัคซีน 1 กค. – 31 สค.52 วันรณรงค์ใหญ่ทั่วประเทศ 1 ก.ค.52 ช่วงการบันทึกข้อมูลโปรแกรม ก.ค.- ก.ย.52 เก็บตกข้อมูล ต.ค.-ธ.ค.52 กำกับ ติดตาม ประเมินผลโดยสสจ./สปสช.เขต /สคร./สธน. ก.ค.-ธ.ค.52

13 การบริหาร งบประมาณโครงการ

14 ผังการสนับสนุนงบประมาณโครงการ

15 กรมควบคุมโรค สนับสนุนงบประมาณรวม 16,480,000 บาท ดำเนินงานกิจกรรม
- จัดประชุมชี้แจงระดับผู้บริหารส่วนกลาง และผู้แทนหน่วยงาน -จัดทำและพิมพ์เอกสารแนวทางการดำเนินงาน -รณรงค์ประชาสัมพันธ์ส่วนกลาง -พิมพ์ใบนัด แผ่นพับความรู้ -กำกับ ติดตาม ประเมินผล

16 องค์การเภสัชกรรม - จัดซื้อวัคซีนจำนวน 1,608,872 dose
สนับสนุนงบประมาณรวม 299,250,192 บาท เพื่อ - จัดซื้อวัคซีนจำนวน ,608,872 dose กระจายวัคซีนจำนวน 1,798,872 dose (รวมกับวัคซีนปี 2551 จำนวน 190,000 dose) องค์การเภสัชกรรมกระจายวัคซีนลงหน่วยบริการระหว่าง ปลายพฤษภาคม –มิถุนายน เพื่อให้หน่วยบริการมีวัคซีนพร้อมให้บริการในช่วงรณรงค์ (กรกฎาคม-สิงหาคม)

17 รายละเอียดการสนับสนุนงบประมาณ สสจ.
1) ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ อสม. และจัดทำแผนการรณรงค์ 2) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ แก่ประชาชนเป้าหมายในพื้นที่ (จังหวัด/อำเภอ/ตำบล) 3) จัดทำแผนและดำเนินการกำกับ ติดตามประเมินผลในพื้นที่ การสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการ 1) กิจกรรมการสำรวจ นัดหมายกลุ่มเป้าหมาย 2) กิจกรรมการบันทึกข้อมูล 3) ค่าวัสดุ อุปกรณ์

18 บทบาทเภสัชกรต่อการดำเนินงาน โครงการวัคซีนไข้หวัดใหญ่
บริหารคลังวัคซีนของหน่วยบริการ บันทึกข้อมูลรายงานยอดคงเหลือวัคซีน ยอดการเบิกจ่ายวัคซีนในโปรแกรม VMI ของ GPO ควบคุมคุณภาพระบบลูกโซ่ความเย็น (cold chain) ของหน่วยบริการ

19 นโยบายการบริหารคลังวัคซีน EPI ผ่านระบบ VMI องค์การเภสัชกรรม

20 วัตถุประสงค์ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัคซีน
เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย - ความครอบคลุมและเท่าเทียม - คุณภาพการให้บริการวัคซีน ลดอัตราป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพิ่มประสิทธิภาพการเฝ้าระวังผลข้างเคียงการให้วัคซีน (AEFI)

21 กลยุทธ์การดำเนินงาน หน่วยบริการในระบบหลักประกันฯเป็นคลังวัคซีนสนับสนุนแก่เครือข่ายหน่วยบริการ เพิ่มความครอบคลุมการให้วัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมาย เพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการและต้นทุนของวัคซีน - การจัดซื้อรวม – การต่อรองและแข่งขันด้านราคา - การลดอัตราการสูญเสียวัคซีน - ลดขั้นตอนการขนส่งและคลังเก็บวัคซีน โดยนำ ระบบ VMI ขององค์การเภสัชกรรม เพิ่มประสิทธิผลและคุณภาพการบริการวัคซีน - การจัดการระบบลูกโซ่ความเย็น ( Cold chain ) - การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนและผลข้างเคียงการให้ วัคซีน ( AEFI )

22 บทบาทเภสัชกรต่อการจัดการวัคซีน EPI
บริหารและสนับสนุนคลังวัคซีนของหน่วยบริการและเครือข่าย ควบคุมคุณภาพระบบลูกโซ่ความเย็นของวัคซีน ร่วมกับผู้รับผิดชอบการให้บริการวัคซีนในหน่วยบริการและเครือข่ายในการวางแผน กำหนดเป้าหมายการให้วัคซีนแก่ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ร่วมเฝ้าระวังและติดตามผลข้างเคียง ภาวะแทรกซ้อนของการให้วัคซีน ร่วมกำกับ ติดตามและประเมินผลการจัดการวัคซีนในภาพรวมของหน่วยบริการและเครือข่าย

23 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google