ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
มะพร้าว COCONUT Scientific name :- Cocos nusifera ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
2
แหล่งผลิต ระดับโลก :- 85% อยู่ในแถบเอเชียแปซิฟิก เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลังกา ไทยฯลฯ ในประเทศไทย :-ผลิตเพียงพอสำหรับการใช้ภาย ในประเทศ (Domestic consumption) แหล่งผลิตที่สำคัญ คือ ภาคใต้ ภาค กลางแถบ ปากแม่น้ำเจ้าพระยา และ ภาคตะวันออก
3
ปัญหาการผลิตในประเทศไทย
เป็นมะพร้าวที่มีอายุมาก เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ผลผลิตจึงน้อย มีการขยายตัวทางด้านการผลิต (ผลผลิต/พื้นที่และพื้นที่ปลูก) น้อย พื้นที่ปลูกส่วนมากเป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม ความอุดมสมบูรณ์น้อย (พื้นที่สมบูรณ์และเหมาะสมนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่น)
4
ถิ่นกำเนิด เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพราะพบว่ามีความหลากหลายทางพันธุกรรมมาก เช่น อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย
5
อายุการให้ผลผลิต(ปี)
พันธุ์ ใช้อายุการตกผล(เริ่มให้ผลผลิต) และขนาดของต้นและผลเป็นเกณฑ์ ซึ่งจำแนกได้ คือ *มะพร้าวกลางส่วนมากจะเกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างมะพร้าวหนักกับมะพร้าวเบา พันธุ์ อายุการตกผล(ปี) อายุการให้ผลผลิต(ปี) ลักษณะลำต้น หนัก(ต้นสูง) เบา(ต้นเตี้ย) กลาง* 8-10 3-4 5-6 60-80 30-40 50 ต้นสูงมีสะโพก(Bole)ที่โคน ต้นเตี้ยไม่มีสะโพกที่โคน ต้นปานกลางมีทั้งมีสะโพกและไม่มีสะโพก
6
เช่น มะพร้าวพันธุ์สวีลูกผสม 1 ชุมพรลูกผสม 1 และ MAWA เป็นต้น
มะพร้าวลูกผสม มะพร้าวเป็นพืชที่มีการผสมตัวเอง และผสมข้าม ฉะนั้นการปลูกเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี จะเป็นพันธุ์มะพร้าวลูกผสมรุ่นที่ 1 (F1 hybrid) เช่น มะพร้าวพันธุ์สวีลูกผสม 1 ชุมพรลูกผสม 1 และ MAWA เป็นต้น
7
สำหรับการปลูกมะพร้าว
สภาพแวดล้อมที่เหมาะ สำหรับการปลูกมะพร้าว TROPICAL AREA ชอบความชื้น (RH % ) ต้องการแสงมาก (>2,000 ชม/ปี) สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกิน 600เมตร ดิน ที่ดีสำหรับมะพร้าวควรเป็นดินที่มีอนุภาคดินเหนียวมากเพราะจะมีแร่ธาตุ โพแตสเซียม (K) ซึ่งจำเป็นสำหรับมะพร้าว
8
วัสดุปลูก นำผลที่แก่เต็มที่ (Physical maturity) มาทำการเพาะ จนแตกหน่อ เมื่อหน่อมีอายุ 5-6 เดือนก็นำไปปลูกในแปลง
9
ระยะปลูก 8-9 เมตร/ต้น จะได้ 22-25 ต้น/ไร่
การปลูก ระยะปลูก 8-9 เมตร/ต้น จะได้ ต้น/ไร่ ควรมีการเตรียมดินที่ดี ขุดหลุมใส่ปุ๋ยอินทรีย์ แล้วปลูกในช่วงฤดูฝน
10
การดูแลรักษา ให้น้ำสำหรับการตั้งตัวเท่านั้น กรณีที่ฝนทิ้งช่วง
การป้องกันกำจัดวัชพืช - พืชคลุมดิน - ถากและถาง การใส่ปุ๋ย การใส่ธาตุอาหารจากดินในแต่ละปี คือ ไนโตรเจน กก. /ไร่ ฟอสฟอรัส กก. /ไร่ โพแตสเซียม กก. /ไร่
11
ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ควบคู่กับปุ๋ยวิทยาศาสตร์
การใส่ปุ๋ย ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ควบคู่กับปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ที่ใช้อาจจะเป็นสูตร หรือสูตร
12
โรค โรคยอดเน่า (Heart leaf rot) เกิดจากเชื้อ Pythium sp. โรคใบจุด (Helminthosporium leaf spot) เกิดจากเชื้อรา Helminthosporium sp.
13
มีด้วงแรดมะพร้าว (Rhinoceros beetle)
แมลง มีด้วงแรดมะพร้าว (Rhinoceros beetle)
14
ควรพิจารณาถึงการนำไปใช้ประโยชน์เป็นหลัก มะพร้าวอ่อน - อายุ 5-6 เดือน
การเก็บเกี่ยว ควรพิจารณาถึงการนำไปใช้ประโยชน์เป็นหลัก มะพร้าวอ่อน - อายุ 5-6 เดือน มะพร้าวแก่ กะทิสด 10 เดือน มะพร้าวสุด - มะพร้าวแห้ง 72 เดือน
15
การใช้ประโยชน์ - บริโภค
อุตสาหกรรมมะพร้าวแห้ง อุตสาหกรรมน้ำมันมะพร้าว อุตสาหกรรมกะทิเข้มข้น อุตสาหกรรมมะพร้าวขูดแห้ง มะพร้าวอ่อน
16
การใช้ประโยชน์ - อื่น ๆ
อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยมะพร้าว ไม้มะพร้าว
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.