ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระบบความเชื่อ
2
ระบบความเชื่อ ความหมาย ประเภทของอำนาจนอกเหนือธรรมชาติ
ลักษณะของระบบความเชื่อในสังคมดั้งเดิม ประเภทของความเชื่อในสังคมดั้งเดิม หน้าที่ของศาสนา
3
ความหมาย ระบบความเชื่อ เป็น Natural Religion เกิดโดยธรรมชาติ ไม่มีศาสดาไม่มีคำสอนแน่ชัด ปฏิบัติตามๆ กันมา ได้แก่ศาสนาในสังคมดั้งเดิม ศาสนา เป็น Revealed Religion มีศาสดาค้นพบ นำมาเผยแพร่ มีคำสอนลึกซึ้งมีองค์กรทางศาสนา ได้แก่ ศาสนาหลักๆ ในโลกปัจจุบัน
4
ความหมาย ระบบความเชื่อและศาสนา ในทางมานุษยวิทยา หมายถึง
“ความเชื่อในสิ่งหรืออำนาจนอกเหนือธรรมชาติ ซึ่งแสดงออกมาในคำสอน พิธีกรรมและแบบแผนพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อนั้น”
5
ประเภทของอำนาจนอกเหนือธรรมชาติ
1) เทวดาหลักที่มีอำนาจมาก (เทพ พระเจ้า) ส่วนใหญ่จะมีลักษณะคล้ายมนุษย์ 2) ผี วิญญาณ ที่ไม่ใช่มนุษย์ 3) ผี วิญญาณที่มาจากมนุษย์ เช่น ลัทธิบูชาบรรพบุรุษ
6
นักมานุษยวิทยาสนใจศึกษาความเชื่อในสังคมดั้งเดิม เพราะ
- พบในทุกสังคมในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ตั้งแต่อดีต - รูปแบบหลากหลายแตกต่างจากสังคมตะวันตกมากดูเหมือนงมงาย ไม่มีเหตุผล ต้องการหาคำอธิบาย - เป็นวัฒนธรรมความคิด นามธรรม มีอิทธิพลเหนือพฤติกรรมทุกประเภท ถ้าเข้าใจศาสนาจะเข้าใจสังคมทั้งหมด
10
ลักษณะของระบบความเชื่อในสังคมดั้งเดิม
ผูกพันกับธรรมชาติ เกิดจากธรรมชาติเพื่ออธิบายธรรมชาติ ผูกพันเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ไม่แยกออกจาก พฤติกรรมอื่น จึงมีอิทธิพลมาก เป็นเครื่องมือในการดำรงชีวิต ใช้ในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทั้ง กายภาพและสังคม เชื่อว่ามนุษย์สามารถควบคุมอำนาจนอกเหนือธรรมชาติได้ > ความเชื่อทางไสยศาสตร์
14
ประเภทของความเชื่อในสังคมดั้งเดิม
1) ANIMATISM เชื่อในอำนาจนอกเหนือธรรมชาติที่ไม่มีตัวตน ตัวอย่าง: Mana ในหมู่เกาะเมลานีเซีย / ชนพื้นเมืองออสเตรเลีย / บุญบารมีในสังคมไทย 2) ANIMISM เชื่อในอำนาจนอกเหนือธรรมชาติที่มีตัวตน ความ เชื่อเกี่ยวกับวิญญาณ ตัวอย่าง: ความเชื่อเรื่องผีสาง วิญญาณ การเข้าทรง
16
3) TOTEMISM เชื่อว่ามนุษย์สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษที่
เป็นพืช สัตว์หรือสิ่งของ เคารพบูชา ไม่ทำร้ายสิ่งที่เชื่อว่าเป็น บรรพบุรุษ เว้นในพิธีกรรม 4) THEISM เชื่อในพระเจ้าว่ามีอิทธิพลเหนือความเป็นอยู่และ เป็นไปของมนุษย์ - Monotheism ความเชื่อที่มีพระเจ้าองค์เดียว - Polytheism ความเชื่อที่มีพระเจ้าหลายองค์
18
หน้าที่ของศาสนา หน้าที่ทางสังคม
- รวมกลุ่มคนเข้าด้วยกัน สร้างความรู้สึกร่วม เป็นพวกพ้อง - กำหนดบรรทัดฐาน แนวทางที่ถูกต้องในการดำเนินชีวิต - ให้การศึกษา ถ่ายทอดวัฒนธรรมของกลุ่ม - ลดความขัดแย้งในกลุ่ม (สร้างความขัดแย้งต่างกลุ่ม??) - เป็นเครื่องมือในการควบคุมทางสังคมที่มีประสิทธิภาพสูง
19
- ช่วยในการปรับตัวในช่วงวิกฤติของชีวิต
- ช่วยในการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง หน้าที่ทางนิเวศวิทยา - ช่วยปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ รักษาสมดุลย์ธรรมชาติ หน้าที่ทางจิตวิทยา - เป็นตัวแบบในการทำความเข้าใจสิ่งที่อธิบายไม่ได้ ให้แนวทางการกระทำ ลดความกังวล อบอุ่นปลอดภัย
27
หน้าที่ของศาสนาผ่าน ตัวอย่างพิธีกรรม
พิธี Voodoo ในเกาะ Haiti
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.