ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
สาระสำคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 ให้ไว้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 โดย ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
2
มีบทบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล แต่ มาตรา 29 ,มาตรา 35 และ มาตรา 50 ในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ บัญญัติให้ กระทำ ได้
3
การศึกษา ภาคบังคับ หมายายถึง การศึกษาชั้นปีที่ 1ถึงชั้นปีที่ 9 ตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ (ป.1 ถึง ป.3)
4
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา หรือ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ประกาศราละเอียดและจัดสรร ติดประกาศที่เขตหรือ อปท ติดประกาศที่สถนศึกษา
5
ผู้ปกครอง (มาตรา 6) ส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา
ผู้ปกครอง (มาตรา 6) ส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา ผ่อนผันก่อนหรือหลังตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการการศึกษาภาคบังคับ
6
พนักงานเจ้าหน้าที่ เข้าตรวจ ระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก
เวลาทำการของสถานศึกษา ดำเนินการ ให้เด็กได้เข้าเรียน หรือแจ้งให้คณะกรรมเขตพื้นที่หรือ คณะกรรมการ อปท การเข้าตรวจ แสดงบัติประจำตัว ตามแบบรัฐมนตรีกำหนด เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา ผู้เกี่ยวข้องต้องอำนวยความสะดวก (มาตรา 9)
7
ผู้ใดที่ไม่ใช่ผู้ปกครอง (มาตรา 11)
มีเด็กที่ไม่ได้เข้าเรียนในสถานศึกษาอยู่ด้วย ตองแจ้งต่อ สำนักงานเขตพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายใน หนึ่ง เดือน เว้นแต่มีผู้ปกครองอาศัยอยู่ด้วย
8
เพื่อประกันโอกาสและความเสมอภาคในการได้รับการศึกษาภาคบังคับ
กระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการเขตพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษา จัดการศึกษาภาคบังคับด้วยรูปแบบ และวิธีการที่เหมาะสมสำหรับเด็ก ที่มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือ ร่างกายพิการ หรือ ทุพพลภาพ หรือ เด็กซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือ ไม่มีผู้ดูแล หรือ ด้อยโอกาส หรือ มีความสามารถพิเศษ เพื่อประกันโอกาสและความเสมอภาคในการได้รับการศึกษาภาคบังคับ
9
ผู้ปกครองไม่ปฏิบัติตามมาตรา 6
ปรับไม่เกิน บาท ผู้ปกครองไม่ปฏิบัติตามมาตรา 6 ผู้เกี่ยวข้องไม่อำนวยความสะดวกต่อเจ้าพนักงาน ตามมาตรา 9
10
ผู้ใดปราศจากเหตุอันควรหรือกระทำใดๆ ที่ทำ ให้เด็กไม่ได้เข้าเรียน
ปรับไม่เกิน บาท ผู้ใดปราศจากเหตุอันควรหรือกระทำใดๆ ที่ทำ ให้เด็กไม่ได้เข้าเรียน ผู้ไม่ปฏิบัติตามมารตรา 11
11
งานสำหรับนิสิต ให้นิสิต ศึกษาค้นคว้าสถิติการเข้าเรียนในการศึกษาภาคบังคับของเด็ก ใน จังหวัดของตน แยกเป็นข้อมูลตามอำเภอ แล้ววิเคระาห์สาเหตุการไม่เรียนใน การศึกษาภาคบังคับ โดยใช้ข้อมูลย้อนหลัง 5-10 ปีในกรณีที่จังหวัดใดเรียน ครบ 100 % ก็ให้วิเคราะห์เช่นเดียวกัน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.