ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยArinya Charanachitta ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ ยาแผนปัจจุบัน ยาที่มุ่งหมายใช้ในการประกอบวิชาชีพ แผนปัจจุบัน ยาแผนโบราณ ยาที่มุ่งหมายใช้ในการประกอบวิชาชีพ แผนโบราณ
2
แบ่งตามความเข้มงวดในการควบคุมการจำหน่าย
ยาควบคุมพิเศษ ยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็น ยาควบคุมพิเศษ ยาอันตราย ยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็น ยาอันตราย ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ ยาสามัญประจำบ้าน ยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็น ยาสามัญ ประจำบ้าน ยาสมุนไพร ยาที่ได้จาก พืช, สัตว์ แร่ธาตุ, ซึ่งมิได้ผ่าน การบด ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ
3
พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา 91 อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ เข้าไปในสถานประกอบการ ระหว่างเวลาทำการ เพื่อตรวจสอบควบคุมให้เป็นไปตาม พรบ. นำยาไปปริมาณพอสมควรเพื่อตรวจสอบหรือวิเคราะห์ ในกรณีมีเหตุอันสงสัย ว่ามีการกระทำผิด พรบ. อาจเข้าไปในสถานที่ใดๆเพื่อตรวจสอบ ยึด หรืออายัด อุปกรณ์ที่ใช้ฯได้ ประกาศผลการตรวจ ตามข้อ 2 ให้ประชาชนทราบโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา
4
ในกรณียาไม่ปลอดภัยให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเรียกเก็บหรือสั่งผู้ประกอบการเก็บยาของตนคืนภายในระยะเวลาที่กำหนด และมีอำนาจทำลายยาดังกล่าวได้ตามกฎกระทรวง มาตรา ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ ต้องแสดง บัตรฯ เมื่อบุคคลที่เกี่ยวข้องร้องขอ
5
การตรวจสถานประกอบการ
1. วางแผนการตรวจ - ตรวจสอบเรื่องใด แนวทางขั้นตอน ในการปฏิบัติงาน ในกรณีจับกุมผู้กระทำความผิดให้ได้ทันท่วงที ต้องมีแผนสำรอง 2. แบ่งหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เหมาะสม 3. ข้อมูลสถานประกอบการ - ตรวจครั้งสุดท้ายเมื่อไร ได้รับคำแนะนำให้แก้ไขปรับปรุงเรื่องใด - รายละเอียดการได้รับอนุญาตประกอบกิจการ - บุคลากรภายในร้าน - ประวัติการกระทำผิด ฝ่าฝืนกฎหมาย 4. การขอการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น
6
การออกปฏิบัติหน้าที่
ก่อนเข้าตรวจสถานประกอบการ - ต้องแนะนำตนเอง - แสดงบัตรพนักงานเจ้าหน้าที่ - แจ้งวัตถุประสงค์ในการตรวจ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ ควรมีบุคลิกลักษณะ ดังนี้ - แต่งกายเหมาะสม - แสดงกิริยาเป็นมิตร พูดจาสุภาพ ไม่แสดงกิริยาขู่เข็ญ
7
3. ต้องทราบบทบาทหน้าที่ตามกฎหมาย เป็นอย่างดี 3. 1 อำนาจการตรวจ
3. ต้องทราบบทบาทหน้าที่ตามกฎหมาย เป็นอย่างดี 3.1 อำนาจการตรวจ อำนาจตาม พ.ร.บ. ยา ให้ตรวจตรา “มิใช่ตรวจค้น” 3.2 อำนาจการยึด หรืออายัด 4. ปฏิบัติตามหลักวิชาการ 4.1 ปฏิบัติตามข้อบังคับของโรงงาน 4.2 การเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ตามหลักวิชาการ
8
การทำพยานหลักฐาน บันทึกการตรวจสถานประกอบการ
บันทึกคำให้การของผู้ประกอบการ ตามข้อเท็จจริง - ใคร - ทำอะไร - ที่ไหน - อย่างไร - เมื่อไร - ทำไม บันทึกการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์
9
4. บันทึกการยึด หรือ ยัด 5. บันทึกหลักฐานอื่นๆ - ใบอนุญาต - ทะเบียนพานิชย์ - บัตรประชาชน - แผ่นพับโฆษณา - ใบสั่งซื้อ/ ใบเสร็จรับเงิน 6. บันทึกภายถ่าย 7. บันทึกข้อเท็จจริง 8. กรณีการแก้ไข ต่อเติม ขีดฆ่าถ้อยคำ ข้อความให้ผู้ให้ถ้อยคำเซ็นชื่อกำกับ
10
A ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ ผลิตในประเทศ
B ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ แบ่งบรรจุในประเทศ C ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ สั่งนำเข้า D ยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ ผลิตในประเทศ E ยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ แบ่งบรรจุในประเทศ F ยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ สั่งนำเข้า G ยาแผนโบราณสำหรับมนุษย์ ผลิตในประเทศ H ยาแผนโบราณสำหรับมนุษย์ แบ่งบรรจุในประเทศ K ยาแผนโบราณสำหรับมนุษย์ สั่งนำเข้า L ยาแผนโบราณสำหรับสัตว์ ผลิตในประเทศ M ยาแผนโบราณสำหรับสัตว์ แบ่งบรรจุในประเทศ N ยาแผนโบราณสำหรับสัตว์ สั่งนำเข้า
11
ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ สูตรผสม สั่งนำเข้า ลำดับที่ 555 ในปี 2539
1 A 523/29 ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ สูตรเดี่ยว ผลิตในประเทศ ลำดับที่ 523 ในปี 2529 2 C 555/39 ยาแผนปัจจุบันสำหรับมนุษย์ สูตรผสม สั่งนำเข้า ลำดับที่ 555 ในปี 2539
12
มาตรา 12 ขายยา นำหรือสั่งยาแผนปัจจุบันเข้าในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับ
อนุญาต โทษ มาตรา จำคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา 19 ขายยาแผนปัจจุบันไม่ตรงตามประเภทใบอนุญาต โทษ มาตรา 102 ปรับ 2,000 – 5,000 บาท มาตรา 72 (1) ยาปลอม โทษ มาตรา ปีถึงตลอดชีวิต ปรับ 10,000 – 50,000 บาท (3) ขายยาเสื่อมคุณภาพ โทษ มาตรา 121 จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสามพันบาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ ขายโดยไม่รู้ว่าหมดอายุ ปรับไม่เกินสามพันบาท (4) ยาที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนตำรับ โทษ ตามมาตรา 122 จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
13
....สวัสดี.....
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.