ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเตรียมผู้ป่วย ก่อนรับการรักษาด้วยรังสี
พรพิมล ชำนาญจันทร์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานผู้ป่วยนอกรังสีรักษา ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
2
รังสีแพทย์ พยาบาลรังสีรักษา นักฟิสิกส์การแพทย์ นักรังสีการแพทย์
บทบาทพยาบาลรังสีรักษา กับทีมสหสาขาวิชาชีพ รังสีแพทย์ พยาบาลรังสีรักษา นักฟิสิกส์การแพทย์ นักรังสีการแพทย์
3
การเตรียมผู้ป่วยก่อนมารับการรักษาด้วยรังสี
พยาบาลจะต้องมีความรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 1. โรคและระยะของโรค 2. แผนการรักษาของแพทย์ 3. จุดมุ่งหมายของการรักษา 4. การพยากรณ์โรค
4
วัตถุประสงค์ เพื่อขจัดความกลัวต่อภาวะต่างๆ
เช่นกลัวต่อโรค สถานที่ เครื่องมือ เตรียมความพร้อมของครอบครัวและ การทำงานเพื่อขจัดความกังวลต่อความรับผิดชอบ 3.ให้ผู้ป่วยมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการรักษาจนครบ แผนการรักษาของแพทย์และเกิดภาวะแทรกซ้อน จากรังสีน้อยที่สุด
5
การเตรียมด้านจิตใจ การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและญาติ
พยาบาลควรให้ความรู้และคำแนะนำในเรื่องต่อไปนี้
6
1.การฉายรังสีคืออะไร
7
Definition รังสีรักษา คือ การนำคุณสมบัติการแตกตัวออกเป็น
ประจุของรังสีพลังงานสูงมารักษาโรคต่างๆ รังสีที่นำมาใช้มีทั้งกลุ่มที่เกิดจากคลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้า หรือรังสีที่เกิดจากอนุภาคของอะตอม
8
Definition โดยรังสีมีอำนาจทะลุทะลวงผ่านเข้าไปยังเนื้อเยื่อ
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ ดังนี้ หยุดยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ ตัดทางลำเลียงอาหารมายังเซลล์ เกิดการแตกสลายของเซลล์ ก้อนเนื้อยุบแห้ง
9
การแบ่งวิธีให้รังสีรักษา
1. Teletherapy (External Beam Irradiation) 2. Brachytherapy - Intracavitary Radiotherapy - Interstitial Radiotherapy - Surface Placement ( Mould ) 3. Internal or Systemic Radiotherapy
10
2.ขั้นตอนและเหตุผลการรักษา
11
สร้างภาพจำลอง
12
คำนวณปริมาณรังสีเพื่อให้ได้ขนาดตามที่แพทย์กำหนด
13
ฟังคำแนะนำการปฏิบัติตัว
14
ฉายรังสี
15
ฉายรังสี ห้อง Control ห้องฉาย Linac
16
ห้องฉาย Co-60
17
3.แผนการรักษาและระยะเวลาที่ใช้
ฉายทุกวัน จันทร์-ศุกร์ หยุดเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดราชการ ระยะเวลาประมาณ 4 – 6 สัปดาห์
18
4.ค่าใช้จ่ายในการรักษา
แนะนำเรื่องการใช้สิทธิบัตร เอกสารต่างๆ หากไม่มีสิทธิบัตรต่างๆ ต้องชำระเงินสด เตรียมค่าใช้จ่าย “ทรวงอก”ประมาณคอร์สละ4-5หมื่นบาท “อุ้งเชิงกราน” ประมาณคอร์สละ3-4หมื่นบาท
19
การรับประทานอาหาร น้ำดื่ม การพักผ่อน ออกกำลังกาย
5.ข้อปฏิบัติเมื่อมารับการรักษาด้วยรังสี การดูแลผิวหนัง การรับประทานอาหาร น้ำดื่ม การพักผ่อน ออกกำลังกาย
20
6.แนะนำญาติดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
เป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยต่อสู้กับโรคต่อไป
21
7.ภาวะแทรกซ้อนจากการฉายรังสี
General Reaction - อ่อนเพลีย - ภูมิต้านทานต่ำ 2. Local Effect - Acute Effect - Late Effect
22
การเตรียมด้านร่างกาย
การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและญาติ การเตรียมด้านร่างกาย
23
ด้านเอกสารผลการตรวจ 1.เตรียมผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่
CBC, BUN, Cr, LFT, VDRL, HBsAg,anti HIV, และ CXR 2.ผลชิ้นเนื้อต้องมีทุกรายเพื่อยืนยันการเป็นมะเร็ง 3.ประวัติการรักษา 4.Film CT , film x-ray ที่เกี่ยวข้องพร้อม ใบอ่านผล
24
ด้านสภาพร่างกายผู้ป่วย
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ พักผ่อนเพียงพอ งดเว้นสิ่งเสพติด 2. เตรียมความพร้อมพิเศษสำหรับอวัยวะที่ จะได้รับการฉายรังสี ได้แก่
25
เตรียมความพร้อมพิเศษ สำหรับอวัยวะที่จะได้รับการฉายรังสี
สมองและไขสันหลัง ทำความสะอาดหนังศีรษะ บริเวณที่จะรักษาให้สะอาดที่สุด 2. โกนผมบริเวณที่จะรักษา หรือโกนทั้งศีรษะ 3. หลีกเลี่ยงไม่ให้ผิวหนังเกิดการระคายเคืองหรือถลอก
26
เตรียมความพร้อมพิเศษ สำหรับอวัยวะที่จะได้รับการฉายรังสี
ศีรษะและลำคอ จะต้องได้รับการตรวจและรักษาช่องปากและทันตกรรมทุกราย ทรวงอก ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งเต้านม จะต้องบริหารแขนเพื่อป้องกันไม่ให้แขนติด
27
เตรียมความพร้อมพิเศษ สำหรับอวัยวะที่จะได้รับการฉายรังสี
ช่องท้องและอุ้งเชิงกราน ดูแลความสะอาดทั่วไปของร่างกายก่อนเริ่มการรักษา ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกต้องทำ cystoscope และ proctoscope ให้เรียบร้อย ทำ IVP เพื่อดูแลการลุกลามของโรคมะเร็ง
28
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.