งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

The Effects of Absorptive Capacity and Decision Speed on Organizational Innovation : A Study of Organizational Structure as an Antecedent Variable Shin-Tien.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "The Effects of Absorptive Capacity and Decision Speed on Organizational Innovation : A Study of Organizational Structure as an Antecedent Variable Shin-Tien."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 The Effects of Absorptive Capacity and Decision Speed on Organizational Innovation : A Study of Organizational Structure as an Antecedent Variable Shin-Tien Chen

2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
เพื่ออธิบายว่าโครงสร้างขององค์กรมีผลกระทบอย่างไรกับ ความสามารถในการซึมซับและการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วและ ส่งผลต่อไปการสร้าง นวัตกรรมขององค์กร

3 การทบทวนวรรณกรรม Organization Structure : (formalization , centralization และ specialization) Organization Innovation ใน 3 ระดับ คือ “Individual” , “Organization” และ “Contextual” จากการทบทวนวรรณกรรม นักวิจัยพบว่าส่วนใหญ่ โครงสร้างขององค์กรที่แตกต่างกันจะส่งผลการมีนวัตกรรมขององค์การ

4 Conceptual Model Organizational structure Formalization Centralization
absorptive capacity Formalization Centralization Organizational structure Organization Innovation decision speed

5 สมมติฐานการวิจัย formal structure (H) → absorptive (H) → innovation (H) centralize structure (H) → absorptive (L) → innovation (L formal structure (H) → decision speed (L) → innovation (L) centralize structure (H) → decision speed (L) → innovation (L)

6 ที่มาสมมติฐานที่ 1 และ 2 จากมุมมองของโครงสร้างองค์การที่เป็นแบบ formalization และ centralization สามารถที่จะนำมา discuss ได้หลากหลาย (Child ,1972;Mintzberg, 1979;Adler, 1999) เช่น ถ้าโครงสร้างองค์กรเป็นตัวจำกัดการดำเนินงาน พนักงานอาจจะขาดความสามารถในการซึมซับหรือขาดความสามารถที่จะตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (Hurley and Hult et al.,2002; Calantine et al.,2002) ลักษณะโครงสร้างขององค์กรที่เป็น formal จะทำให้ความรู้ถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์การมีวิธีการบริหารแบบ Best Practice (Nahm et al.,2003) แสดงให้เห็นว่าโครงสร้างองค์กรแบบนี้อาจจะส่งผลให้พนักงานสูญเสียแรงจูงใจในการสร้างนวัตกรรม โครงสร้างแบบ centralize จะมีความยืดหยุ่นน้อย แต่มีความสามารถในการที่ integrate ข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูล

7 ที่มาสมมติฐานที่ 1 และ 2 ที่ผ่านมา มีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างแบบ formalize หรือแบบ centralize และการพัฒนา innovation ซึ่งพบว่า ส่งผลในทางบวกในบางกรณี และในบางกรณีก็ส่งผลในทางลบ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้ จะเน้นไปที่การศึกษาองค์การที่มีระดับโครงสร้างองค์การที่เป็น formalize และ centralize สูงๆ

8 ที่มาของสมมติฐานที่ 3 และ 4
เกี่ยวกับ Organization structure , decision speed และ organization innovation โดยปกติ การตัดสินที่เร็ว จะ refer ไปที่ องค์กรจะดำเนินงานให้รวมเร็วได้อย่างไรตามกระบวนการของการตัดสินใจ ซึ่งการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วนั้น แสดงให้เห็นว่า ธุรกิจจะพัฒนากลยุทธ์อย่างไรให้รวดเร็วทันต่อการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก องค์กรที่มีโครงสร้างองค์กรแบบ formal ในระดับสูง จะมีการตัดสินใจช้า องค์กรที่มีโครงสร้างองค์กรแบบ centralize ในระดับสูง จะมีแรงจูงใจและประสิทธิภาพของพนักงานต่ำ และมีการตัดสินใจช้า

9 วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา บริษัทจำนวน 260 แห่ง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา บริษัทจำนวน 260 แห่ง เครื่องมือสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบสอบถาม โดยแจกไปทั้งหมด 1,282 ชุด ใช้ Structural Equations Model ในการวิเคราะห์ข้อมูล ทดสอบความน่าเชื่อถือโดยใช้ Cronbach alpha ซึ่งได้ค่าความน่าเชื่อถืออยู่ในระดับที่สูง คือทุกตัวแปรอยู่ระหว่าง ทดสอบความถูกต้องโดยการทำ pre-test การอธิบายผลทางสถิติใช้ ค่า mean ,SD และ correlation coefficient

10 ผลลัพธ์การวิจัย จากตารางที่ 4 น.38 เป็นผลของการของศึกษาโดยมีการควบคุมตัวแปร อายุองค์กร ขนาดองค์กร การแชร์ความรู้ในองค์กร วัฒนธรรมองค์กรและประเภทธุรกิจ ผลจากการทดสอบทางสถิติ พบว่า model นี้ ได้ค่า GFI (Goodness-of-Fit Index) ที่ 0.96 และค่า NFI (Normed Incremental Fit Index) ที่ 0.97 ซึ่งทั้งคู่มีค่าสูงกว่าระดับที่สามารถยอมรับได้คือ 0.90 ดังนั้น model นี้ fit กับ data

11 ผลลัพธ์การวิจัย -ผลการทดสอบสมมติฐาน
Formalization + Absorptive + Innovation - + Centralization Absorptive Innovation Formalization - decision speed + Innovation Centralization decision speed + Innovation

12 The END


ดาวน์โหลด ppt The Effects of Absorptive Capacity and Decision Speed on Organizational Innovation : A Study of Organizational Structure as an Antecedent Variable Shin-Tien.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google