ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิวัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
วิวัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รายวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น
2
วิวัฒนาการความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ
ยุคโบราญ การรวมกันเป็นสังคมในบริเวณริมแม่น้ำ เพื่อการดำรงชีพและคมนาคม แนวคิดเรื่องรัฐ สมัยกรีก ปี ก่อนคริสต์ศักราช การใช้ผู้ถือสาส์นระหว่างรัฐ
3
ยุคสมัยของความสัมพันธ์
สมัยโรมัน ระยะแรก เน้นกฎหมายระหว่างประเทศ 350 ปี ก่อนคริสต์ศักราช
4
สมัยฟิวดัล กษัตริย์มีความขัดแย่งเรื่องอำนาจกับผู้นำทางศาสนจักร
5
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา การทำสงครามทางศาสนา
6
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สนธิสัญญา Westphalia ผลสงครามทำให้ Holy Roman Empire สนธิสัญญาเวสฟาเลีย ความสัมพันธ์ยุคล่าอาณานิคม
7
ความสัมพันธ์ช่วงสงครามโลก
สงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามโลกครั้งที่ 2
8
แสวงหาหนทางการป้องกันการเกิดสงคราม
สัญญา Kellog Briand Pact Nato สงครามเย็น
9
การศึกษาความสัมพันธืระหว่างประเทศ
ระยะก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นการศึกษาหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของความสัมพันธ์ ระยะหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ถึง 2 มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ที่เกิดขึ้นใหม่ยังมิได้ทำการศึกษาถึงปัญหาทางการเมือง ที่เป็นการก่อให้เกิดสงครามหรือสันติภาพ ระยะศึกษาถึงสถาบันระหว่างประเทศ เช่น ทูต กงสุล กฎหมายระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ และดุลยอำนาจระหว่างประเทศ ระยะหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงปัจจุบัน ศึกษาการพัฒนาการมาเป็นลำดับ เริ่มตั้งแต่การศึกษา กำลังและอิทธิพลๆ ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรม การปรับปรุงข้อคัดแย้ง การได้มาซึ่งอำนาจและผลประโยชน์ของชาติ ตลอดจนสภาพแวดล้อมทางการเมืองที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายระหว่างประเทศ
10
แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ลูเดอวิง วอน เบอร์ทาเลนฟาย (Ludeving Von Bertalanfy) ผู้คิดเรื่อง Isomophism เดวิด อีสตัน (David Easton) Conversion Process Outputs feedbac
11
แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ทฤษฏีระบบของแคปแลน (Caplan) ระบบโลก ระบบภูมิภาค จะมีอิทธิพลต่อระบบภายในของแต่ละประเทศไม่มากก็น้อย ทฤษฏีความเกี่ยวพันของรอสนาว (Rosnau) ปัจจัยที่เข้าไปมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศของแต่ละประเทศ ปัจจัยภายในคือ ผู้นำ กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง มติมหาชน สื่อมวลชน สถาบันทางการเมืองและเศรษฐกิจ มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม
12
ทฤษฏีปัจจัยนำเข้าและปัจจัยผลิตผลของโมเด็ลสกี
มีปัจจัย 2 ชนิดที่เกี่ยวข้องคือ ปัจจัยนำเข้าไปสู่ตัวกำหนดนโยบายต่างประเทศและปัจจัยผลิตผลที่ผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศได้แสดงออกไปสู่โลกภายนอกโดยมีองค์ประกอบ ผู้กำหนดนโนบายต่างประเทศ พลังอำนาจและพลังแสดงอำนาจของนโยบาย จุดมุ่งหมายแห่งรัฐ หลักการของนโยบายต่างประเทศ สภาพแวดล้อมของนโยบายต่างประเทศ
13
ทฤษฎีลัทธิที่น่าสนใจ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ทธิสัจนิยม (Realism) หรือ อำนาจการเมือง (Power Politic) ลัทธิสัจนิยมใหม่ (Neo-Realism) จากงานเขียนของ K.N.Waltz เรื่อง ทฤษฏีการเมืองระหว่างประเทศทั้งในระดับโครงสร้างและระดับหน่วยประกอบว่ามีทั้งที่แตกต่างกันและเชื่อมโยงกัน พหุนิยม (Pluralism) แนวคิดที่ต่อต้านเกี่ยวกับอำนาจรวมศูนย์อยู่ที่รัฐ การแบ่งปันอำนาจระหว่างพรรคต่าง ๆ สหพันธรัฐนิยม (Federalism) มี 2 ความหมาย การปกครองมีการแบ่งอำนาจระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์รัฐ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหนทางที่จะนำไปสู่การรวมเป็นอันเหนึ่งอันเดียวกันระหว่างรัฐอธิปไตยต่าง ๆ
14
ทฤษฎีลัทธิที่น่าสนใจ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ทฤษฏีระบอบ (Regime theory) ลัทธิทุนนิยม (Capitalism) จากแนวคิดของอาดัมสมิธ (Adam Smith) เฮอร์เบิร์ สเปนเซอร์ “ผู้เข้มแข็งที่สุดเท่านั้นจะอยู่รอด” ปัจจุบันแนวคิดการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ได้เน้นความสำคัญเป็นอันดับแรกคือ ประเด็นทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับความมั่งคงและสวัสดิการ
15
หลักเกณฑ์สำคัญที่ใช้ในการศึกษา
ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้น มีหลักเกณฑ์สำคัญที่จะใช้ในการศึกษาได้หลายหลักเกณฑ์ด้วยกัน แต่ก็เป็นเรื่องยากที่จะหาหลักเกณฑ์เพื่อทำความเข้าใจหรืออธิบายต่อปัญหาโดยเฉพาะปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับกิจกรรมระหว่างประเทศ ที่มีการเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเพิ่มความสับสนมากมาย ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินวิถีชีวิตของประชากรและความสัมพันธ์ระหว่างกัน จึงขึ้นอยู่กับความสามารถของรัฐบาลในฐานะผู้กำหนดนโยบายระหว่างประเทศของรัฐ อาจแบ่งหลักเกณฑ์สำคัญที่ใช้ในการกำหนดนโยบายระหว่างประเทศ ได้ ดังนี้ 1. อำนาจ 2. การใช้ทฤษฎีที่เป็นระบบ
16
สวัสดีครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.