ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYod rak Parnpradub ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง โทร โทรสาร
2
สมการกำลังสอง
3
- การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวในรูป
ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว ที่ a ≠ 0 และ b ≠ 0 - การหาคำตอบของสมการกำลังสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx+c = 0 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัวที่ a ≠ 0 และ c ≠ 0
4
1.การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวในรูปAx2 + bx + c เมื่อ a, b, cเป็นค่าคงตัวที่ a = 0 และ c = 0 เพื่อความสะดวก เราจะเรียก ax2 ว่าพจน์หน้า bx ว่าพจน์กลาง และ c ว่าพจน์หลัง 2.การแยกตัวประกอบของพหุนามในรูป ax2 + bx + c เมื่อA, b, c เป็นค่าคงตัวที่ a ≠ 0 และ c ≠ 0 ทำได้ดังนี้ 2.1พหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามที่คูณกันแล้วได้พจน์หน้าเขียนสองพหุนามนั้นเป็นพจน์หน้า ของพหุนามสองพหุนาม 2.2หาจำนวนสองจำนวนที่คูณกันแล้วได้พจน์หลังเขียนจำนวนทั้งสองเป็นพจน์หลังของพหุนามในข้อที่ 2.1 3.หาพจน์กลางของพหุนามที่เป็นผลลัพท์จากผลคูณของพหุนาม แต่ละคู่ในข้อ 2.2
5
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 2x2 - x - 21
วิธีทำ 2x2 แยกได้เป็น x x x -1 แยกได้เป็น x 3 ทดลองจับคู่คูณกัน ( 2x - 7)(x + 3) -7x รวมได้ -x (พจน์กลาง) +6x นั้นคือ 2x2 - x -21 = ( 2x - 7)( x + 3)
6
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 3x2 - 2x - 5 วิธีทำ 3x2 แยกได้เป็น 3x x x
-5 ร่วมแล้วได้-2x (พจน์กลาง) +3x นั้นคือ 3x2 - 2x - 5 =( 3x -5)( 3x+1)
7
แบบฝึกหัด การแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1.9x2 – 48 x +64 2.16x2 + 72x + 81 3. 25x2+30x +9 4.36x2 -24x +4
8
แบบฝึกหัด การแยกตัวประกอบของ พหุนามต่อไปนี้ 1.9x2 – 48 x +64 = (3x - 8)(3x- 8) 2.16x2 + 72x + 81 = (4x + 9)(4x+ 9) 3. 25x2+30x = (5x + 3)(5x+ 3) 4.36x2 -24x = (6x-2)(6x-2)
14
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.