ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Chapter 2 Database systems Architecture
2
สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล (Database systems Architecture)
“แนวคิด/แบบจำลองของโครงสร้าง ส่วนประกอบหลักและหน้าที่ของแต่ละส่วนที่นำมาประกอบรวมกันเป็นระบบฐานข้อมูล”
3
สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล (Database systems Architecture)
- ปี ค.ศ กลุ่ม DBTG (DataBase Task Group) ได้กำหนดสถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูลไว้ 2 ระดับ - Schema มุมมองระบบ (System View) - Subschema มุมมองผู้ใช้ (User View) - ปี ค.ศ.1975 สถาบัน ANSI-SPARC ได้กำหนดสถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูลไว้ 3 ระดับ - Internal Level - Conceptual Level - External Level - ทำให้เข้าใจการทำงานของแต่ละส่วนได้ง่ายขึ้น
4
สถาปัตยกรรม 3 ระดับ (The Three-Schema Architecture)
Physical Data Organization Physical Data Organization Database Database
5
สถาปัตยกรรม 3 ระดับ : ระดับภายใน (The Three-Schema Architecture : Internal Level)
พิจารณาวิธีการ “จัดเก็บข้อมูลอย่างไร” (HOW) เป็นระดับที่ DBMS และ OS มอง DBA สามารถจัดการรูปแบบโครงสร้างข้อมูลได้ อธิบายโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ (Physical) เพื่อให้การปฏิบัติการกับข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นส่วนในการที่พิจารณาถึงความเร็วในการปฏิบัติการกับข้อมูล Physical Data Organization Physical Data Organization Database Database
6
สถาปัตยกรรม 3 ระดับ : ระดับแนวคิด (The Three-Schema Architecture : Conceptual Level)
พิจารณาว่ามี “ข้อมูลอะไร” (What) ที่จะเก็บลงฐานข้อมูล เป็นมุมมองหลักของระบบ เน้นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (Data Model) กฎเกณฑ์ต่างๆ หรือคีย์ต่างๆ Structured Independent กับ Internal Level Physical Data Organization Physical Data Organization Database Database
7
สถาปัตยกรรม 3 ระดับ : ระดับแนวคิด (The Three-Schema Architecture : Conceptual Level)
เป็นมุมมองของผู้ใช้แต่ละคน ความต้องการของข้อมูลของผู้ใช้ อาจจะต้องใช้ Derived Attribute Physical Data Organization Physical Data Organization Database Database
8
สถาปัตยกรรม 3 ระดับ (The Three-Schema Architecture)
การเปลี่ยนแปลงในระดับล่างจะไม่มีผลต่อระดับบน Physical Data Organization Physical Data Organization Database Database
9
สถาปัตยกรรม 3 ระดับ (The Three-Schema Architecture)
วัตถุประสงค์ ผู้ใช้ใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน แต่อาจต้องการมองข้อมูลต่างกัน ผู้ใช้ไม่ต้องรู้ถึงระดับ Internal level เพราะ DBMS จัดการให้ เปลี่ยนโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลไม่มีผลต่อ View เปลี่ยน Storage ไม่มีผลต่อโครงสร้างภายในของฐานข้อมูล เปลี่ยนโครงสร้างข้อมูลไม่มีผลต่อ View
10
โครงร่าง , การแปลงรูป และอินสแตนซ์ (Schema , Mapping and Instance)
Conceptual/Internal Mapping External/Conceptual Mapping
11
โครงร่าง , การแปลงรูป และอินสแตนซ์ (Schema , Mapping and Instance)
Database Instance : รายการข้อมูลในฐานข้อมูลที่ถูกใช้งานในหน่วยความจำ ในขณะที่ทำงานอยู่ Schema Intension Instance Extension/State
12
ความอิสระของข้อมูล (Data Independence)
13
ความอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical Data Independence)
การเปลี่ยนแปลงในระดับแนวคิดจะไม่ส่งผลกระทบ ต่อระดับภายนอก เช่น การเพิ่มเอนติตี้ , แอททริบิวท์ และความสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับแนวคิด จะไม่กระทบกับมุมมองภายนอก หรือไม่ต้องแก้ไขโปรแกรมใหม่
14
ความอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (Physical Data Independence)
การเปลี่ยนแปลงในระดับภายในไม่ส่งผลกระทบต่อ ระดับแนวคิด การเปลี่ยนแปลงในระดับภายในได้แก่ การใช้โครงสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ หรือโครงสร้างการจัดเก็บใหม่ , ใช้หน่วยเก็บข้อมูลแบบอื่น , การแก้ไขดัชนีหรืออัลกอริธึมแบบแฮช ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะไม่กระทบต่อระดับแนวคิดและระดับภายนอก
15
ส่วนประกอบโมดูลในระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Component Modules)
อิอิ!!! หารูปไม่เจอ ดูรูปในหนังสือหน้า 70
16
ภาษาที่ใช้ในฐานข้อมูล (Database Language)
Data Definition Language : DDL Data Manipulation Language : DML Data Control Language : DCL
17
ภาษาที่ใช้ในฐานข้อมูล (Database Language)
Data Definition Language : DDL Data Manipulation Language : DML ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการกำหนด ”โครงสร้าง” ข้อมูลว่ามี แอทริบิวต์อะไร เก็บข้อมูลประเภทใด การเพิ่มแอทริบิวต์ การกำหนดดัชนีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล การกำหนดวิวของผู้ใช้จากเอนทิตี้ Data Control Language : DCL
18
ภาษาที่ใช้ในฐานข้อมูล (Database Language)
Data Definition Language : DDL Data Manipulation Language : DML Data Control Language : DCL ภาษาสำหรับจัดดำเนินการ “ข้อมูล” ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการเรียกใช้ข้อมูล การเปลี่ยนแปลงข้อมูล การเพิ่มหรือลบข้อมูล สามารถเรียกข้อมูลต่าง ๆ มาดู
19
ภาษาที่ใช้ในฐานข้อมูล (Database Language)
ภาษาที่ใช้ในการ “ควบคุม” ข้อมูล ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการควบคุมความถูกต้องของข้อมูล หรือป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ใช้หลายคนเรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน ในขณะที่ข้อมูลนั้น ๆ กำลังปรับปรุงแก้ไขอยู่ ซึ่งเป็นเวลา เดียวกับผู้ใช้อีกคนหนึ่งก็เรียกใช้ข้อมูลนี้ และได้ค่าที่ไม่ถูกต้อง เพราะผู้ใช้คนแรกยังปรับปรุงแก้ไขไม่เสร็จ Data Definition Language : DDL Data Manipulation Language : DML Data Control Language : DCL
20
โปรแกรมอรรถประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล (Database System Utilities)
Loading Utility Backup Utility File Reorganization Performance Monitoring Other…
21
เครื่องมืออำนวยความสะดวกในการพัฒนา/สื่อสาร (Tools, Application Environment and Communications Facilities) Case Tools
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.