งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ

2 มาตรการที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ปรับความเย็นให้อยู่ในระดับที่ต้องการเท่านั้น ไม่ควรต่ำจนเกินไป การใช้งานไม่เต็มพื้นที่ ควรกำหนดให้เครื่องทำความเย็นทำงานเป็นส่วน ๆ ตามพื้นที่ที่ใช้งาน ควบคุมปริมาณอากาศจากภายนอกที่จะเข้ามาภายในอาคาร ควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้สูงจากพื้นพอสมควรเพื่อให้ลมเย็นกระจายไปทั่วถึงไปทั่วถึงบริเวณต่างๆ เช่น ห้องพัก ห้องทำงาน

3 มาตรการที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย (ต่อ)
ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าและหลอดไฟฟ้าแสงสว่างที่ไม่จำเป็น ช่วยลดปริมาณความร้อนภายในอาคาร นำตู้มาตั้งชิดผนังด้านที่โดนแสงแดดเพื่อลดความร้อนจากภายนอกเข้าสู่อาคารโดยตรง ทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศทุก ๆ เดือน ปิดประตู หน้าต่างและผ้าม่านให้สนิท ตรวจสอบห้องเป็นประจำเพื่อลดการสูญเสียความเย็นตามจุดรั่วต่างๆ

4 มาตรการที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ติดตั้งฉนวนบุเพดาน ติดตั้งกระจก 2 ชั้นเพื่อลดความร้อนจากภายนอก ติดตั้งเครื่องควบคุมการจ่ายลม เพื่อช่วยควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสม ติดตั้งม่าน กันแสงแดดที่กระจกหน้าต่าง เพื่อลดความร้อนจากภายนอก

5 มาตรการที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ติดตั้งแผ่นสะท้อนความร้อนจากแสงอาทิตย์ ติดตั้งระบบกุญแจสัมผัสปิดเปิดไฟฟ้าอัตโนมัติในห้องพักผู้ป่วย เลือกใช้เครื่องทำความเย็นประสิทธิภาพสูง ปลูกต้นไม้รอบ ๆ อาคาร

6 เครื่องปรับอากาศ การใช้งาน
ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ ๒๕ – ๒๖ องศาเซลเซียส เปิดพัดลมระบายอากาศเท่าที่จำเป็น ปิดเครื่องปรับอากาศขนาด ๑ ตัน เร็วขึ้นวันละ ๑ ชั่วโมง ๑ ล้านเครื่อง ประหยัดปีละ ๗๕๖ ล้านบาท

7 เครื่องปรับอากาศ การบำรุงรักษา
ทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ (Filter) และคอยล์ทำความเย็นอย่างน้อย เดือนละ ๑ ครั้ง ทำความสะอาดแผงระบายความร้อนทุก ๖ เดือน

8 เครื่องปรับอากาศ ลด...ละ...เลิก
ไม่ตั้งตู้เย็น ไม่รีดผ้า ไม่ต้มน้ำในห้องที่มีการปรับอากาศ ตั้งอุณหภูมิที่ระดับร่างกายรู้สึกสบายโดยไม่ต่ำกว่า 25°C ถ้าไม่อยู่ห้องเกิน 1 ชั่วโมง ควรปิดเครื่องปรับอากาศ ไม่ปลูกต้นไม้หรือตากผ้าในห้องที่มีการปรับอากาศ

9 เครื่องปรับอากาศ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
เลือกขนาดเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับห้อง ทาสีผนังด้านนอกด้วยสีอ่อน เพื่อสะท้อนความร้อนไม่ ให้เข้าสู่ตัวอาคาร ติดตั้งกันสาด มู่ลี่ ให้กับหน้าต่าง เพื่อป้องกันความร้อนจาก แสงแดด

10 เครื่องปรับอากาศ ดูแลรักษาและใช้อย่างถูกวิธี
หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศอย่างสม่ำเสมอ อย่านำสิ่งของไปวางขวางทางลมเข้า-ออกของชุดระบาย ความร้อน อย่าตั้งชุดระบายความร้อนใกล้ผนังเกินไป ควรตั้งให้ห่าง อย่างน้อย 15 ซม.

11 ผลการตรวจวัดพลังไฟฟ้าก่อนและหลังล้างเครื่องปรับอากาศ
พลังไฟฟ้าก่อนล้าง (กิโลวัตต์) พลังไฟฟ้าหลังล้าง พลังไฟฟ้าลดลง ( % ) KW/TON ลดลง (%) ห้องทำงาน ตัวที่ ขนาด 30,825 BTU/hr เบอร์5) 2.53 2.44 3.56% 23.63 % ห้องที่ ( 25,000 BTU/hr) ไม่มีฉลากเบอร์5) 2.77 2.45 11.55% 32.87% ห้องที่ ( 13,500 1.61 1.46 9.32% 23.89% ห้องที่ ( 18,300 1.49 1.37 8.05% 22.99% 3.40 2.60 23.53% 39.72 % 1 2 ( น้ำยาน้อย ) ตัวที่

12 อากาศรั่วไหลที่ประตู

13 ติดโช้ค ปิดประตูอัตโนมัติ

14 ขอบประตู หน้าต่าง ปิดไม่สนิท

15 Any cracks in walls or around plumbing and electrical conduit should be well sealed.

16 พัดลมระบายอากาศ ไม่เปิดนานเกินไป
ระบายอากาศเย็นออก รับอากาศบริสุทธิ์ร้อน ต้องไม่มากเกินไป

17 ร้านทำผม , ห้องในโรงพยาบาล
อัตราการระบายอากาศ ตามมาตรฐาน ASHRAE ANSI/ASHRAE Standard : 1989, Ventilation for Acceptable Indoor Air Quality พื้นที่ ลบ.ฟ. / คน สำนักงาน ร้านอาหาร 20 ห้องพักในโรงแรม 30 ต่อห้อง ห้องประชุม ร้านทำผม , ห้องในโรงพยาบาล 25 พื้นที่สูบบุหรี่ 60 ร้านขายของ , ห้องเรียน 15

18 อัตราการระบายอากาศ ตามกฎกระทรวง 33, 39 ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
พื้นที่ ไม่น้อยกว่า จำนวนเท่าของปริมาตรห้อง ใน 1 ชม. ห้องน้ำ ที่บ้าน/ที่ทำงาน 2 ห้องน้ำ สาธารณะ 4 ร้านค้า โรงงาน โรงมหรสพที่จอดรถใต้ดิน สำนักงาน ร้านอาหาร 7 ห้องพักในโรงแรม/อาคารชุด สำหรับห้องครัวของร้านอาหารน้อยกว่าที่กำหนดได้ แต่ต้องมีการระบายอากาศคลุมแห่งที่เกิดของกลิ่น ควัน ไม่น้อยกว่า 12 เท่าของปริมาตร ของห้องใน 1 ชั่วโมง

19 แอร์ เบอร์ 5 ไทย 25 °C จีน 26 °C ญี่ปุ่น 28 °C
ปรับเทอร์โมสตัต ทุก 1 องศา ประหยัดได้ 2-4 %

20 ตั้งคอนเดนซิ่งให้ระบายความร้อนดี

21 แจกัน ตู้ปลา ทำให้แอร์กินไฟมากขึ้น

22 พัดลมระบายอากาศ ลด...ละ...เลิก อย่าเปิดทิ้งไว้ เมื่อไม่มีคนอยู่
เปิดหน้าต่าง เพื่อใช้ลมธรรมชาติช่วยถ่ายเทอากาศ ภายในห้อง ไม่สูบบุหรี่ภายในห้อง เพื่อลดการใช้พัดลม ระบายอากาศ

23 พัดลมระบายอากาศ ดูแลรักษาและใช้อย่างถูกวิธี
หมั่นทำความสะอาดใบพัดและตะแกรง ตั้งความเร็วพัดลมให้พอเหมาะ ไม่เร็วหรือช้าเกินไป ห้องที่มีการปรับอากาศควรเลือกขนาดของพัดลม ระบายอากาศให้เหมาะสมเพื่อสุขอนามัย ก่อนเปิดเครื่องปรับอากาศควรเปิดประตูและหน้าต่าง แทนการใช้พัดลมระบายอากาศ

24

25

26

27

28

29

30


ดาวน์โหลด ppt ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google