งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
มีความสนใจหรือมีผลประโยชน์ร่วมกัน การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในเครือข่าย มีการเสริมสร้างซึ่งกันและกัน มีการเกื้อหนุนพึ่งพากัน มีปฏิสัมพันธ์กันในเชิงแลกเปลี่ยน

2 การรักษาเครือข่าย มีการจัดกิจกรรมร่วมดำเนินอย่างต่อเนื่อง
การรักษาสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกเครือข่าย กำหนดกลไกสร้างระบบจูงใจ จัดหาทรัพยากรสนับสนุนเพียงพอ ให้ความช่วยเหลือและช่วยแก้ไขปัญหา มีการสร้างผู้นำรุ่นใหม่อย่างต่อเนื่อง

3 แนวทางการขับเคลื่อนเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่
(Whole Value Chain Network) นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์

4 “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง”
(1) แนวทางการขับเคลื่อนตามนโยบายการขับเคลื่อน “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง”

5 นโยบายการขับเคลื่อน “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง”
นโยบายการขับเคลื่อน “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง” Whole Value Chain Network “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง” เครือข่ายเข้มข้นมากขึ้น เชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่เครือข่าย จากนโยบายสู่แนวทางปฏิบัติ ความชัดเจนและเข้าใจในเรื่อง Whole Value Chain Network เครือข่ายเข้มข้น แยกเป็น 3 ระดับ 1. การสร้างเครือข่าย 2. การพัฒนาเครือข่าย 3. การเชื่อมโยงเครือข่าย

6 กำหนดกรอบแนวทางสู่การปฏิบัติ Whole value chain network
แผนงาน 3 เครือข่ายเข้มข้น เชื่อมโยงเครือข่ายในและนอกจังหวัดให้เข้มข้นยิ่งขึ้น แนวทางปฏิบัติ กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้มีหนังสือ ที่ กษ 1109/14168 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2556 แจ้งการขับเคลื่อนให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่การผลิต Output ข้อมูลที่เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ทั้งหมดในจังหวัด แผนภาพการเชื่อมโยง เครือข่ายของสหกรณ์ ทั้งภายในและภายนอกจังหวัดที่ชัดเจน การส่งเสริมสนับสนุนให้มีการสร้าง การพัฒนาและการเชื่อมโยงเครือข่ายของสหกรณ์ในจังหวัดที่มีความเข้มข้นยิ่งขึ้น

7 กำหนดกรอบแนวทางสู่การปฏิบัติ Whole value chain network
แผนงาน 4เชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่เครือข่าย เชื่อมโยงเครือข่ายตลอดทั้งห่วงโซ่การผลิต ในภาพรวมของประเทศ แนวทางปฏิบัติ ส่วนภูมิภาค (ผู้ขับเคลื่อนหลัก สกจ.) คัดเลือกการเชื่อมโยงเครือข่ายเด่นของจังหวัด และจัดทำแผน/โครงการการเชื่อมโยเครือข่ายตลอดห่วงโซ่การผลิต ดังนี้ เครือข่ายผลผลิตหลักของสหกรณ์ อย่างน้อย 1 ผลผลิต เครือข่ายการเงิน (ซึ่งอาจไปเชื่อมโยงกับผลผลิตอื่นๆ ) จัดทำแผนการขอกู้เงิน กพส.ดำเนินโครงการ Output Project ที่เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายของสหกรณ์ชัดเจน และเข้มข้นยิ่งขึ้น

8 (2) การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network
ด้วย Logistics และ Supply Chain

9 ระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน
Logistic (Log) กิจกรรมของผู้ผลิต (Suppliers) ในการจัดการสินค้าจนถึงผู้บริโภคขั้นสุดท้ายโดยประหยัดต้นทุน ตรงเวลา และความเชื่อถือ Supply Chain (S) จำนวนผู้ผลิตทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าจนถึงผู้บริโภคคนสุดท้าย Value Chain (VC) มูลค่าหรือราคาสินค้าของผู้ผลิต (Suppliers) ที่ได้รับของแต่ละผู้ผลิตจนส่งผู้บริโภคคนสุดท้ายของ Suppliers การเพิ่มมูลค่า (Value Chain) หรือราคาสินค้าของผู้ผลิต (Suppliers) ที่ได้รับของแต่ละห่วงโซ่อุปทาน ต้องรู้ว่ามีต้นทุนเพิ่มเท่าไหร่ และเปรียบเทียบมูลค่าที่เพิ่มขึ้นกับต้นทุนที่เกิดว่าจะคุ้มกันหรือไม่

10 โลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร
เกษตรกร สถาบันเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ สถาบันเกษตรกร สถาบันเกษตรกร สถาบันเกษตรกร พืช ผลิต เก็บรักษา การตลาด ผู้บริโภค ขนส่ง การแปรรูป การรวบรวม ผลผลิต ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง ปศุสัตว์ ประมง การจัดการ ปัจจัยการผลิต การจัดการฟาร์ม และคุณภาพสินค้าในฟาร์ม การจัดการโครงสร้างพื้นฐานในการเก็บรวบรวม เทคโนโลยี การเก็บรักษา/ห้องเย็น/โกดัง/ยุ้งฉาง เทคโนโลยีและนวัตกรรม การแปรรูปผลิตภัณฑ์ จัดการคุณภาพมาตรฐานสินค้าและการส่งเสริมการตลาด ตลาดในประเทศ ตลาดต่างประเทศ แหล่งรวบรวมและกระจายสินค้า (Distribution Center – DC) มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในฐานะเป็นกิจกรรมในการลดต้นทุนโลจิสติกส์และทำให้ระบบการกระจายสินค้าสามารถขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การที่ประเทศไทยไม่สามารถพัฒนาการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ไปสู่ในระดับ World Class Logistics ได้นั้น นอกเหนือจากปัจจัยหลายประการแล้ว ปัจจัยที่สำคัญก็คือ ยังขาดการสนับสนุนการพัฒนา DC ให้มีมาตรฐานสากล ซึ่งหากพิจารณาในภาคการเกษตร จะพบว่า มีแหล่งรวบรวมและกระจายสินค้าเกษตรเศรษฐกิจที่สำคัญหลายชนิด ทั้งสินค้าพืช ปศุสัตว์และ ประมง ซึ่งแหล่งรวบรวมและกระจายสินค้าเกษตรเหล่านี้ หากมีการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถสร้างเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญของโลกได้อย่างแน่นนอน อย่างไรก็ดี การบริการจัดการศูนย์กระจายสินค้าจำเป็นต้องมีเครือข่ายและการบริหารงานอย่างมืออาชีพ และความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับงานโลจิสติกส์มาใช้ในกระบวนการทางธุรกิจ ด้วยการพัฒนาระบบ e-Trade Logistics เพื่อให้การดำเนินธุรกรรมที่เกี่ยวโยงในระดับเอกชนให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูล ทั้งของภาครัฐและภาคธุรกิจมาเสริมต่อให้อยู่ในโซ่อุปทานเดียวกัน โดยจะต้องมีลักษณะเป็นศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าในลักษณะที่เป็นสาธารณะ ซึ่งภาครัฐอาจจะมีการประมูลเพื่อให้เอกชนเข้าบริหารตามสถานที่ที่เป็นชุมทางขนส่งของภูมิภาค หรือตามประตูเชื่อมโยงขนส่ง (Corridor Link) สู่ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งจะเชื่อมโยงไปสู่ทางหมายเลข 9 หรือ ที่ท่าเรือเชียงแสนและอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ซึ่งจะเป็นประตูในการกระจายสินค้าผ่านเส้นทาง R3E ไปสู่ประเทศจีนตอนใต้ รวมทั้ง การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าที่อำเภอแม่สอดในการที่จะรวบรวมและกระจายไปสู่ประเทศพม่า ฯลฯ โดยทั่วไปแล้วศูนย์กระจายสินค้าภายในประเทศควรจะตั้งอยู่ตามเส้นทางขนส่งหลัก โดยมีระยะห่างจากศูนย์กลางแหล่งผลิตเป็นระยะทาง กิโลเมตร เช่น ทางภาคเหนือ อาจมีที่จังหวัดพิษณุโลก, ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็อาจเป็นที่จังหวัดขอนแก่น หรือทางภาคใต้ ก็อาจเป็นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นต้น ซึ่งทำเลที่ตั้งควรจะสามารถเชื่อมโยงกับเส้นทางรถไฟ หรือเชื่อมโยงกับการขนส่งทางแม่น้ำหรือท่าเรือชายฝั่ง เนื่องจากศูนย์กระจายสินค้าจะมีความสัมพันธ์กับการขนส่งที่เรียกว่า Multimodal Transport ซึ่งก็คือการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ที่ต้องมีการเปลี่ยนประเภทพาหนะขนส่ง บริหารสินค้าคงคลัง ข้อมูล ผลิตภัณฑ์ การไหลของเงินทุน ทุนดำเนินงานตลอดทั่วทั้งระบบ


ดาวน์โหลด ppt 7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google