ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
2
ความสำคัญของการสื่อสาร ในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
3
1. การติดต่อสื่อสารเป็นเครื่องมือ
ถ่ายทอดข้อมูล อารมณ์ ความ รู้สึก ความคิด และความต้องการ ให้อีกฝ่ายเข้าใจ พึงพอใจ รักใคร่ เชื่อถือ ศรัทธา นำไปสู่การให้ ความร่วมมือ 2. ทำให้การดำเนินชีวิตและการ บริหารงานประสบผลสำเร็จ
4
การสื่อสาร (Communication)
5
ความหมายของการสื่อสาร
มาจากภาษาละติน “Communis” หมายถึง ร่วมกัน คล้ายคลึงกัน หมายถึง สิ่งที่มุ่งสร้างให้เกิด “ความร่วมกัน” ระหว่างบุคคล ที่เกี่ยวข้อง
7
การสื่อสาร เป็นกระบวนการส่งหรือ
แลกเปลี่ยนข่าวสารหรือความคิดระหว่าง บุคคลกับบุคคล การสื่อสารเน้น ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
8
องค์ประกอบของการสื่อสาร
1. ผู้ส่งสาร (Sender or Communication) 2. สาร (Message) 3. ช่องทางหรือสื่อ (Channel) 4. ผู้รับสาร (Receiver of Destination) 5. ผลของการสื่อสาร (Effects)
9
ผู้ส่งสาร(Sender or Communication)
หมายถึง บุคคลหรือแหล่งที่มาของ ข่าวสารอาจเป็นบุคคลคนเดียวหรือ คณะบุคคลหรือองค์การ เช่น สถานีวิทยุโทรทัศน์
10
แหล่งข่าวสารต้องเข้ารหัส (Encode)
ผู้รับปลายทางจะทำการถอดรหัส (Decode) ออกมา ผู้ส่งกับผู้รับต้องมี การปรับเข้าหากันหรือมีความร่วมมือกัน
14
สาร (Message) หมายถึง เนื้อหาสาระที่ส่งออกไปจาก
หมายถึง เนื้อหาสาระที่ส่งออกไปจาก ผู้ส่งอาจจะเป็นความคิดหรือเรื่องที่จะ ส่งไปตามสื่อ เช่น คำพูด ข้อเขียน รูปภาพ
15
แบ่งเป็น 3 ลักษณะ 1. สัญลักษณ์ของสาร เช่น คำ วลี ประโยค 2. เนื้อหาของสาร เช่น ข้อความ บทสรุป ความคิดเห็น 3. การเลือกและการจัดลำดับ ข่าวสาร เช่น บรรณาธิการ
18
ช่องทางหรือสื่อ (Channel)
หมายถึง ตัวกลางหรือพาหะ ที่จะนำสารไปยังผู้รับสาร
19
แบ่งเป็น 3 ลักษณะ 1. วิธีการลงรหัสและถอดรหัส ข่าวสารเป็นภาพหรือเป็นเสียง 2. พาหะที่นำข่าวสาร เช่น กระดาษ ม้วนเทป 3. ตัวพาหะนำไป เช่น อากาศ แสง
20
ผู้รับสาร (Receiver of Destination)
หมายถึง บุคคลที่เป็นจุดหมายปลายทาง ของข่าวสารที่ส่งออกไปได้รับสารรับรู้ ข่าวสารด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 แล้วจึงส่งถอดรหัสตีความ
21
ผลของการสื่อสาร (Effects)
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือ ข้อแตกต่างซึ่งเกิดขึ้นกับบุคคล หรือกลุ่มบุคคลอันเนื่องมาจาก ข่าวสารที่ได้รับ
22
1. ระดับจุลภาค เป็นการศึกษา
เฉพาะตัวบุคคล 2. ระดับมหภาค เป็นการศึกษา ผลของการสื่อสารที่มีต่อสังคม ส่วนรวม และการพัฒนาประเทศ
23
ประสิทธิภาพของการติดต่อสื่อสาร
1. การเคลื่อนไหวที่มีการวางแผนมาก่อน 2. ความเหมาะสมกับวัฒนธรรม 3. การส่งข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ ต้องถึงผู้รับสาร
24
4. ใช้การติดต่อสื่อสารแบบสองทาง
5. การทำซ้ำ 6. การสาธิต 7. การฝึกปฏิบัติ
25
สื่อที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
1. ภาษาพูด
26
2. ภาษาเขียน
27
3. ภาษาท่าทาง
28
4. ภาษามือ
29
5. รูปภาพ
30
6. สัญลักษณ์
31
7. สื่อมวลชน * สิ่งตีพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์
32
* สิ่งที่ไม่ตีพิมพ์ เช่น วิทยุ โทรทัศน์
อินเตอร์เน็ต
34
ปัญหาการติดต่อสื่อสาร
1. ปัญหาที่เกิดจากตัวบุคคล ผู้ส่งสารและ ผู้รับสาร 1.1 ความบกพร่องของอวัยวะที่เกี่ยวข้อง กับการติดต่อสื่อสาร
35
1.2 ขาดทักษะในการสื่อความ
1.3 ใช้ภาษายากเกินไป 1.4 ใช้ภาษาต่างประเทศปน ภาษาไทย
36
1.5 ผู้ส่งสารไม่เข้าใจในเรื่องที่จะสื่อสาร
ดีพอ 1.6 ผู้ส่งสารมีเจตนาบิดเบือนข่าวสาร บางอย่าง 1.7 ผู้ส่งสารมีอคติ
37
1.8 ขาดศรัทธาในการฟัง 1.9 บทบาท ตำแหน่ง หน้าที่ 1.10 ผู้ส่งสารพูดผิดพลาด โดยไม่เจตนา
38
2. ปัญหาด้านข่าวสาร 2.1 ข่าวบิดเบือน 2.2 ข้อมูลไม่ชัดเจนหรือคลุมเครือ 2.3 ข้อมูลเข้าใจยาก
39
3. ปัญหาด้านสื่อ 3.1 ภาษา พูด เขียน 3.1.1 คำพูดเดียวแต่มีหลายความหมาย 3.1.2 ภาษาท้องถิ่น 3.1.3 ข่าวลือ 3.1.4 คำพูดที่เคลือบแฝง
40
3.2 ภาษาท่าทาง สีหน้า แววตา
3.3 สัญลักษณ์ 3.4 สื่อมวลชน
41
4. สิ่งแวดล้อม 4.1 เสียงรบกวน 4.2 แสง 4.3 อุณหภูมิ 4.4 ระยะทางของการสื่อสาร
42
การปรับปรุงกระบวนการติดต่อสื่อสาร
1. การส่งผลสะท้อนกลับของข่าวสาร 2. เพิ่มช่องทางในการติดต่อสื่อสาร ให้มากขึ้น 3. ใช้วิธีการติดต่อสื่อสารแบบตัวต่อตัว 4. มีความรู้สึกไวต่อโลกของผู้รับสาร
43
5. ควรมีความรู้ในเรื่องของความหมาย
ของสัญลักษณ์ต่างๆ 6. สนับสนุนคำพูดหรือกิริยาท่าทาง เพื่อเน้นย้ำความหมาย 7. ควรใช้ภาษาอย่างง่าย
44
การแก้ปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพ
ของการติดต่อสื่อสาร 1. ปฏิบัติซ้ำๆเพื่อให้เกิดความเข้าใจ 2. ใช้วิธีเขียนในสิ่งที่พูดไปแล้ว 3. ใช้ภาษาพูดหรือเขียนให้เรียบง่ายที่สุด
45
4. ต้องมีการส่งผลสะท้อนกลับ
ของข่าวสาร 5. สาธิตให้เห็นถึงความหมายที่ ต้องการสื่อสาร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.