ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
CHAPTER 4 Circuit Theorems
A. Aurasopon Electric Circuits ( )
2
วัตถุประสงค์และเนื้อหา
ศึกษาการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎี: ซุปเปอร์โพสิชั่น การเปลี่ยนรูปแหล่งจ่าย การส่งผ่านกำลังสูงสุด เทวินิน นอร์ตัน A. Aurasopon Electric Circuits ( )
3
Super position theorem
แรงดันตกคร่อม (หรือกระแสไหลผ่าน) อุปกรณ์ในวงจรเชิงเส้นใดๆคือผลรวมทาง พีชคณิตของแรงดันตกคร่อม (หรือกระแสไหลผ่าน) อุปกรณ์ตัวนั้นซึ่งเกิดจาก แหล่งจ่ายอิสระแต่ละตัว ขั้นตอนการประยุกต์ใช้หลักการของซุปเปอร์โพสิชั่น 1. หาแรงดันหรือกระแสจากแหล่งจ่ายอิสระทีละตัว (อาจใช้การวิเคราะห์แบบโนดหรือเมช) โดยทำการปิดแหล่งจ่ายอิสระตัวอื่น 2. ทำซ้ำในขั้นตอนที่หนึ่ง จนกระทั่งครบทุกแหล่งจ่ายที่มีอยู่ในวงจร 3. หาผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันหรือกระแสที่ได้จากแหล่งจ่ายอิสระแต่ละตัว A. Aurasopon Electric Circuits ( )
4
Super position theorem
หาแรงดัน v หาจากแหล่งจ่ายทีละตัว กำหนด v1 จากแหล่งจ่าย 6V และ v2 จากแหล่งจ่าย 3A ดังนั้นจะได้ผลลัพธ์ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
5
Super position theorem
หา v1 จากแหล่งจ่าย 6V A. Aurasopon Electric Circuits ( )
6
Super position theorem
A. Aurasopon Electric Circuits ( )
7
Source Transformation
Independent source Dependent source A. Aurasopon Electric Circuits ( )
8
Source Transformation
ใช้หลักการเปลี่ยนรูปแหล่งจ่ายหา vo A. Aurasopon Electric Circuits ( )
9
Source Transformation
A. Aurasopon Electric Circuits ( )
10
Thevenin theorem โครงข่ายงานเชิงเส้นใดๆ สามารถแทนได้ด้วยแหล่งจ่ายแรงดันเทวินิน ต่อกับความต้านทานเทวินิน + - a b โครงข่ายงานเชิงเส้น โครงข่ายงาน วงจรสมมูลย์เทวินิน A. Aurasopon Electric Circuits ( )
11
Thevenin theory ขั้นตอนของการวิเคราะห์วงจรด้วยทฤษฎีเทวินิน a b vth
1. ปลดโหลด คำนวณหาแหล่งจ่ายเทวินิน และความต้านทานเทวินิน Rth 2. เขียนวงจรสมมูลย์เทวินิน คำนวณหากระแสและแรงดันที่โหลด A. Aurasopon Electric Circuits ( )
12
Thevenin theorem วิธีคำนวณหา Rth ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน
a a b b Rth วิธีคำนวณหา ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน เปิดวงจรแหล่งจ่ายกระแส A. Aurasopon Electric Circuits ( )
13
Thevenin theorem vth วิธีคำนวณหา a b A. Aurasopon
Electric Circuits ( )
14
Thevenin theorem a Use voltage divider b A. Aurasopon
Electric Circuits ( )
15
Norton theorem โครงข่ายงานเชิงเส้นใดๆ สามารถแทนได้ด้วยแหล่งจ่ายกระแสนอร์ตัน ต่อกับความต้านทานนอร์ตัน a b วงจรสมมูลย์นอร์ตัน โครงข่ายงาน โครงข่ายงานเชิงเส้น A. Aurasopon Electric Circuits ( )
16
Norton theorem ขั้นตอนของการวิเคราะห์วงจรด้วยทฤษฎีนอร์ตัน a b ith
1. ปลดโหลด คำนวณหาแหล่งจ่ายกระแสนอร์ตัน และความต้านทานนอร์ตัน Rth 2. เขียนวงจรสมมูลย์นอร์ตัน คำนวณหากระแสและแรงดันที่โหลด A. Aurasopon Electric Circuits ( )
17
Norton theorem วิธีคำนวณหา Rth ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน
a a b b Rth วิธีคำนวณหา ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน เปิดวงจรแหล่งจ่ายกระแส A. Aurasopon Electric Circuits ( )
18
Norton theorem คำนวณหา ith a b
พิจารณาจากวงจรควรใช้สมการเมชคำนวณหากระแสนอร์ตัน A. Aurasopon Electric Circuits ( )
19
Norton theorem a Use current divider b A. Aurasopon
Electric Circuits ( )
20
Maximum Power Transfer
1 กำลังสูงสุดที่เกิดขึ้นหาได้จากการ differentiate สมการที่ 1 เทียบกับ RL แล้วกำหนดให้ผลลัพธ์เท่ากับศูนย์ A. Aurasopon Electric Circuits ( )
21
Maximum Power Transfer
คูณสมการที่ 1 ด้วย แล้วทำการ differentiate 2 คูณสมการที่ 2 ด้วย 3 A. Aurasopon Electric Circuits ( )
22
Maximum Power Transfer
b a b วิธีคำนวณหา RL ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน เปิดวงจรแหล่งจ่ายกระแส A. Aurasopon Electric Circuits ( )
23
A. Aurasopon Electric Circuits ( )
24
A. Aurasopon Electric Circuits ( )
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.