ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเลือกตั้ง (Election)
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้ง (Election) อาจารย์สุมาลี มีจั่น วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2
การเลือกตั้ง (Election)
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้ง (Election) “กระบวนการตัดสินใจเลือก ที่ประชาชนทำการลงคะแนน เลือก (vote) ผู้สมัครหรือพรรคการเมืองที่ตนพึงพอใจ เพื่อ เป็นตัวแทนในการปกครอง อันเป็นกลไกสำคัญที่เป็นทางการ อย่างหนึ่งในระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ อันมีผลสำคัญ ต่อทั้งในทางนิติบัญญัติ บริหาร หรือบางครั้งรวมไปถึง ทางด้านตุลาการ ”
3
การเลือกตั้ง (Election)
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้ง (Election) กระบวนการทางประชาธิปไตยแบบทางอ้อม (indirect democracy) ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้เลือกตัวแทนของตน เข้ามาดำรงตำแหน่งต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะหมายถึง ตำแหน่ง ทางการเมือง
4
การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (Vote)
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (Vote) การแสดงออกถึงเจตจำนงของประชาชน
5
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
วิธีการเลือกตั้ง โดยตรง โดยอ้อม
6
บัตรเลือกตั้ง (Ballot)
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง บัตรเลือกตั้ง (Ballot)
7
คูหาเลือกตั้ง (polling place)
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง คูหาเลือกตั้ง (polling place)
8
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
หีบบัตร (ballot box)
9
เครื่องลงคะแนน (Ballot Machine)
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง เครื่องลงคะแนน (Ballot Machine) A ballot machine with names of candidates from the 1956 Wisconsin election
10
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
รูปแบบการลงคะแนน
11
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
รูปแบบการลงคะแนน
12
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
รูปแบบการลงคะแนน
13
การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย หมู่บ้าน การเลือกผู้ใหญ่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน สมาชิกสภาท้องถิ่น ตำบล กำนัน ผู้บริหารท้องถิ่น
14
การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย อำเภอ สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาเมืองพัทยา จังหวัด สมาชิกสภา ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมาชิก อบจ.
15
การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย
ชาติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา
16
สิทธิเลือกตั้ง (Suffrage)
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง สิทธิเลือกตั้ง (Suffrage) สิทธิที่รัฐให้แก่กลุ่มบุคคลตามที่กำหนดไว้อย่างชัดแจ้ง เพื่อให้มี ส่วนร่วมทางการเมืองในการเลือกบุคคลหรือตัดสินแก้ปัญหาที่ มอบให้
17
แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง 1 คุณสมบัติพื้นฐานของพลเมือง (attribute of citizenship) 2 ถือเป็นอภิสิทธิ์ตามสถานภาพทางสังคม (privilege) 3 สิทธิตามธรรมชาติ (natural-rights theory) 4 จริยธรรม (ethical theory) 5 กฎหมาย (legal theory)
18
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
Universal suffrage สิทธิเลือกตั้งที่ไม่ถูกจำกัดด้วย 1 ชาติพันธุ์ (race) 2 เพศ (sex) 3 ความเชื่อ (belief) 4 สถานภาพทางสังคม (social status)
19
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
สิทธิเลือกตั้ง(Suffrage) สิทธิคัดค้าน (right of protest)
20
การไม่ลงคะแนน (No Vote)
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การไม่ลงคะแนน (No Vote)
21
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
No Vote การใช้สิทธิในการ “ไม่ประสงค์ลงคะแนน” เป็นการใช้สิทธิเลือกตั้งที่แสดงให้เห็นถึง การ ใช้อำนาจในการตัดสินใจเลือก ที่ไม่ตัดสินใจ เลือก
22
หลักการจัดการการเลือกตั้ง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง หลักการจัดการการเลือกตั้ง มีอิสระ มีกำหนดเวลาที่แน่นอน มีความยุติธรรม เปิดกว้าง มีความเสมอภาค มีความสะดวก มีอิสระ มีกำหนดเวลาที่แน่นอน มีความยุติธรรม เปิดกว้าง มีความเสมอภาค มีความสะดวก
23
ความสำคัญของการเลือกตั้ง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ความสำคัญของการเลือกตั้ง การเลือกผู้ปกครอง กลไกเชื่อมโยงระหว่างผู้มีอำนาจรัฐกับประชาชน การสร้างความชอบธรรมให้กับผู้ปกครอง การลดความขัดแย้ง บูรณาการทางการเมือง การแสดงออกทางการเมืองของประชาชน
24
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การซื้อขายเสียง ประชาชน ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ตัวแทนของทางราชการ
25
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดในการเลือกตั้งของไทย
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดในการเลือกตั้งของไทย ปัญหาเกี่ยวกับผู้มีอำนาจฟ้องร้องคดี ปัญหาเกี่ยวกับพยานหลักฐาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.