งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
อนุรักษ์นิยม (Conservatism) ลัทธิการเมืองที่ให้ความสำคัญกับอดีต ไม่นิยมการปฏิรูป หากจะมีการเปลี่ยนแปลงควรจะเป็นไปตามสภาพสังคม โดย ไม่ทำลายคุณธรรมที่ดีงามที่ได้ยึดถือกันมาก่อน เหตุผลไม่ใช่เป็นหลักสำคัญประการเดียว แต่ประเพณีที่ ยึดถือกันมาแต่เดิมนั้นเป็นเครื่องพิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นสิ่งที่ใช้ ได้ ควรจะนำมาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวการกระทำทั้งหลายใน สังคม

2 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
อนุรักษ์นิยม (Conservatism) ความเป็นมา : การปฏิวัติฝรั่งเศส ปี 1789 เป็นเหตุให้เกิดกระแสการ อนุรักษ์นิยม โดยนำสิ่งใหม่มาสู่สังคม : มนุษย์มีความเท่าเทียมกัน (Equal) : ความเป็นไปได้ที่จะสมบูรณ์แบบ (Perfectible) จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเมืองอย่างมาก

3 องค์ประกอบพื้นฐานของลัทธิอนุรักษ์นิยม
ประเพณี (Tradition) ลัทธิปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ความไม่สมบูรณ์ของมนุษย์ (Human imperfection) อนุรักษ์นิยม อินทรียภาพ (Organicism) ลำดับชั้นที่สูงที่ต่ำ (Hierarchy) อำนาจหน้าที่ (Authority) ทรัพย์สิน (Property)

4 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
อนุรักษ์นิยม (Conservatism) หลักการสำคัญ : 1. ประเพณี (Tradition) เป็นความคิดหรือกิจกรรมใดๆ ที่อยู่ช่วงการเปลี่ยนแปลง โดยสะท้อนให้เห็นการสั่งสมใน อดีต ประเพณีเป็นสิ่งดีงาม 2. การปฏิบัตินิยม (Pragmatism) โดยเห็นว่า เหตุผล (Reason) มีข้อจำกัดในการดำรงชีวิตของมนุษย์ แต่จะนิยม ประสบการณ์ (Experience) ประวัติศาสตร์ (History) และ สิ่งที่ปฏิบัติได้

5 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
อนุรักษ์นิยม (Conservatism) หลักการสำคัญ : 3. ความไม่สมบูรณ์มนุษย์ (Human Imperfection) เป็นความคิดพิจารณามนุษย์แง่ร้าย/ลบ (Pessimistic) หรือ มนุษย์มีข้อจำกัด (Limited) ต้องพึ่งผู้อื่น เห็นแก่ตัว กระหาย อำนาจ จะอาศัยรัฐที่เข้มแข็ง เข้มงวดกฎหมายและลงโทษ เด็ดขาด

6 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
อนุรักษ์นิยม (Conservatism) หลักการสำคัญ : 4. อินทรียภาพ (Organicism) เป็นความคิดที่ว่า จะไม่มี มนุษย์สามารถอยู่นอกสังคม เพราะมนุษย์มีข้อจำกัดและ ต้องพึ่งผู้อื่น จึงต้องรวมกลุ่ม เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน ฯลฯ โดยกลุ่มเกิดเองตามธรรมชาติ มองเป็นสิ่งมีชีวิต 5. ระดับต่ำสูง (Hierarchy) องค์ประกอบสังคม/อวัยวะ มีความหมายและความสำคัญไม่เท่ากัน เน้นย้ำความไม่เสมอ ภาค

7 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
อนุรักษ์นิยม (Conservatism) หลักการสำคัญ : 6. อำนาจหน้าที่ (Authority) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามมา ธรรมชาติ ไม่ใช่การตกลงรวมกัน ให้ความสำคัญกับภาวะ ผู้นำและการมีระเบียบวินัย 7. ทรัพย์สิน (Property) ทรัพย์สินสะท้อนถึงความ สามารถของปัจเจกชน ผู้ที่ฉลาดและทำงานหนักจะมีความ ร่ำรวยได้ ทรัพย์สินยังทำให้ผู้ครอบครองรู้สึกเป็นผู้ส่าวนได้ ส่วนเสียของสังคมชัดเจนขึ้น

8 ประเภทอนุรักษ์นิยม 1. อนุรักษ์นิยมแนวอำนาจนิยม
(Authoritarian Conservatism) 2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) ประเภทอนุรักษ์นิยม 3. อนุรักษ์นิยมแนวเสรีภาพ (Libertarian Conservatism) 4. อนุรักษ์นิยมขวาใหม่ (The Conservatism New Right)

9 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
1. อนุรักษ์นิยมแนวอำนาจนิยม (Authoritarian Conservatism) เป็นอนุรักษ์นิยมที่ต้องการให้รัฐบาลมีอำนาจมากๆ Joseph De Maistre นักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศสไม่พอใจการปฏิวัติปี 1789 เสนอว่า “พระราชาปกครองมนุษย์ แต่เหนือกว่าพระราชาทั้งหลายขึ้นไป ควรเป็นอำนาจของพระสันตปาปาปกครอง” มนุษย์ควรยอมรับอำนาจปกครองที่เป็นมาตั้งแต่ครั้งก่อน แม้อำนาจ จะโหดร้ายและดูไร้เหตุผล แต่อำนาจสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยและ นำมาสู่ความมั่นคงปลอดภัยแก่ประชาชน

10 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
1. อนุรักษ์นิยมแนวอำนาจนิยม (Authoritarian Conservatism) ผู้นำที่โหดร้ายควรได้รับการเชื่อฟัง เพราะการใช้อำนาจจะเป็นที่ยำ เกรงและความโกลาหลวุ่นวายที่ไม่สิ้นสุดก็จะไม่เกิดขึ้น ในทางตรงกันข้าม การปฏิวัติเป็นการทำลายล้างอำนาจการปกครอง หลังการปฏิวัติบ้านเมืองจะมีสภาพไร้ขื่อแป ความโกลาหลวุ่นวายจะเกิด ขึ้นอย่างไม่มีที่จบสิ้น ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตประชาชนจะรักษาไว้ ไม่ได้ นักอนุรักษ์นิยมแนวอำนาจนิยมจะเป็นพวกกลุ่มปฏิกิริยา (Reactionary) ย้อนกลับหาอดีตที่เรืองรอง ปฏิเสธการปฏิรูปใน ปัจจุบันและนิยมความรุนแรง หรือนักอนุรักษ์นิยมแนวรุนแรง (Radical)

11 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์มีความยืดหยุ่นกว่าและได้รับความนิยมมาก กว่า นำโดย Edmund Burke ( ) เสนอ “การเปลี่ยนแปลง (Change) เป็นเรื่องธรรมชาติที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงไม่ควรต่อต้านการเปลี่ยนแปลงอย่างหัวชนฝา” “รัฐที่ไม่มีกลไกการเปลี่ยนแปลงย่อมเท่ากับไม่มีกลไกในการผดุง รักษาตนเอง” อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์จะเน้นสิ่งปฏิบัติได้ ไม่เน้นสุดขั้วทั้งแง่ปฏิบัติ และปฏิกิริยา รวมทั้งอ่อนน้อมถ่อมตน

12 1. “การรักษาความต่อเนื่องของสังคม” การปฏิวัติเป็นสิ่งไม่ดี นำมา
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) หลักการพื้นฐานอนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ของEdmund Burke มี 4 ประการ 1. “การรักษาความต่อเนื่องของสังคม” การปฏิวัติเป็นสิ่งไม่ดี นำมา ซึ่งความรุนแรงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ยึดอำนาจย่อมไม่สามารถใช้ อำนาจปกครองอย่างสงบเรียบร้อยได้ จะยุติด้วยสันติวิธีทำได้ยาก เสนอ ให้ใช้ “การปฏิรูปเพื่อรักษาสิ่งที่มีอยู่” (Reform in Order to Conserve“ ปรับปรุงสิ่งที่ไม่เหมาะสมบ้างเพื่อรักษาแบบแผนเดิมให้อยู่ต่อไป

13 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) 2. “วิพากษ์ลัทธิปัจเจกบุคคลนิยม” ปัจเจกบุคคลไม่มีความหมาย ถ้าอยู่นอกสายสัมพันธ์ทางสังคม ระเบียบสังคมและการเมืองละเอียดอ่อน ถูกทำลายได้ง่ายกว่าการสร้างใหม่ การกระทำที่เปลี่ยนแปลงระเบียบ สังคมและการเมืองต้องรอบคอบ 3. “ผู้ปกป้องราชาธิปไตยและอภิชนาธิปไตย (Aristocracy)” ความไม่เท่าเทียบกันเป็นเรื่องธรรมชาติและเลี่ยงเลี่ยงไม่ได้ของสังคม มนุษย์ การชี้นำและการนำจะตามมา สังคมจะมีโครงสรค้างลดหลั่นกัน หรือสูงต่ำตามลำดับ ผู้ใหญ่ดูแลปกป้องผู้น้อย ผู้น้อยเคารพเชื่อฟังผู้ใหญ่ ผู้น้อยเมื่อพร้อมความสมารถและเหมาะสมจะเป็นผู้ใหญ่ ราชาธิปไตยและ อภิชนาธิปไตยมีโครงสร้างสายสัมพันธ์เหมือนดังกล่าว

14 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) 4. “ผู้ปกป้องระบบทรัพย์สินส่วนบุคคล” ทรัพย์สินควรจะเป็นของ เอกชน/ส่วนบุคคล และไม่จำเป็นต้องกระจายให้เท่าเทียมกัน และยกตก เป็นมรดกได้ และควรมีสัดส่วนสัมพันธ์กับอำนาจทางการเมืองที่บุคคลเข้า มีส่วน รัฐสภาควรเป็นสถานที่ที่แสดงให้เห็นถึงตัวแทนผู้มีฐานะตำแหน่ง ทางสังคมและผู้มีอิทธิพลทางเศรษฐกิจด้วย นอกจากนี้ อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ ยังเชื่อมโยงแนวคิด Benjamin Disraeli ( ) อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ ภายใต้กระแสความ ขัดแย้งสังคมระว่างคนรวยกับคนจนเรียกว่ามี 2 ชาติ (2 Nations : The Rich and The Poor) นักอนุรักษ์ : ผู้เปลี่ยนแปลงอย่างถอดราก ชาว คริสต์ การเป็นยิว เป็นศิลปิน : นักการเมือง การเป็นคนชั้นสูง (Lord) : การยกย่องกรรมกร

15 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) ทั้งนี้ คนรวยต้องอยู่ต่อไปโดยไม่โดนล้มอำนาจ ซึ่งต้องกลับยึด เชื่อมั่นตามจารีตประเพณีดั่งเดิม คนชั้นสูงต้องดูแลคนต่ำกว่า ฐานะสูงมี ภาระหน้าที่ต่อสังคมมากกว่าผู้ที่ยากจนและต่ำต้อย

16 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
3. อนุรักษ์นิยมแนวเสรีภาพ (Libertarian Conservatism) อนุรักษ์นิยมแนวเสรีภาพเกิดขึ้นปลาย ศ. 19 ต่อกับต้น ศ. 20 เนื่องจากรัฐเข้าแทรกแซงระบบเศรษฐกิจมากขึ้น แต่อนุรักษ์นิยมแนว เสรีภาพพิจารณาว่า รัฐควรปล่อยเสรีทางเศรษฐกิจ โดยสอดคล้องกับ นักเสรีนิยม แต่ปัจเจกชนต้องการความคุ้มครองจากจารีตประเพณีและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยทางสังคม

17 ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
4. อนุรักษ์นิยมแนวขวาใหม่ (The Conservatism New Right) อนุรักษ์นิยมแนวขวาใหม่ (New Right) เป็นคำเรียก การเคลื่อน ไหวทางความคิดที่เกิดขึ้นในยุโรปตะวันตก (Eng F Ger) และ USA ใน 1970 “เศรษฐกิจเสรีกับรัฐเข้มแข็ง” Free Economy and Strong State จึงคล้ายคลึงกับอุดมการณ์เสรีนิยมทั่วไป


ดาวน์โหลด ppt ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google