ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ประเภทลัทธิทางการเมือง
1. ลัทธิทางการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ : อำนาจรัฐมีไม่มาก มีขอบเขตจำกัด แต่เสรีภาพบุคคลสำคัญมาก ลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) ลัทธิสังคมนิยมประชาธิปไตย (Democratic Socialism) ลัทธิอนุรักษ์นิยม (Conservatism)
2
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
ลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) ลัทธิเสรีนิยมเป็นลัทธิที่นิยมเสรีภาพบุคคล/ที่เรียกกันว่า แบบเสรีภาพนิยม ลัทธิเสรีนิยม = ความเชื่อ และการยอมรับหลักการ แนว นโยบายและวิธีการใดๆ ที่มุ่งรักษาและเพิ่มพูนเสรีภาพของ บุคคลให้มากที่สุด โดยเฉพาะเสรีภาพความคิดเห็นและการ แสวงหาความสุข
3
ลัทธิเสรีนิยม (Liberalism)
นักคิดที่สำคัญ จอห์น ล๊อค (อังกฤษ) มองเตสกิเออ (ฝรั่งเศส) รุสโซ (ฝรั่งเศส)
4
- ลัทธิเสรีนิยมเกิดพร้อมกับการพัฒนาของรัฐชาติหรือ
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ ลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) ความเป็นมา : - ลัทธิเสรีนิยมเกิดพร้อมกับการพัฒนาของรัฐชาติหรือ รัฐประชาชาติ ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะแต่ละประเทศ อังกฤษ : ความเป็นเกาะที่แยกโดดเดี่ยวทำให้พัฒนา การลัทธิเสรีในค่อยเป็นค่อยไป ฝรั่งเศส : ความเชื่อในเหตุผลของมนุษย์ในช่วงยุค ภูมิธรรม (The Enlightenment) ทำให้ครึกโครม อิตาลีและเยอรมัน : การรวมชาติช้าและอิทธิพลจาก การปฎิวัติจากฝรั่งเศส ทำให้เกิดขึ้นช้ากว่าอังกฤษ และ ฝรั่งเศส
5
- พื้นฐานจารีตทางความคิดของยุโรปตะวันตกของลัทธิ
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ ลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) ความเป็นมา : - พื้นฐานจารีตทางความคิดของยุโรปตะวันตกของลัทธิ รัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism) ศ.19 ที่มีรูปแบบ เดียวกัน ยุคภูมิธรรม (The Enlightenment) = ยุคแห่งความ เชื่อมั่นที่มนุษย์พร้อมทดลองด้วยเหตุผล (Reason) Descastes Hobbes Smith
6
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
ลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) สาระสำคัญ : 1. ให้คุณค่ากับความคิดเห็นที่มีเสรีภาพ บุคคลมีสิทธิ ตามธรรมชาติเกี่ยวกับ - ชีวิต - ทรัพย์สิน - โอกาสประกอบการ 2. รัฐไม่เข้าแทรกแซงทางเศรษฐกิจและสังคมของ บุคคลให้เป็นไปตามธรรมชาติ
7
3. เสรีภาพการแสดงออกบุคลิกภาพตนเองเป็นสิ่งที่มี
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ ลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) 3. เสรีภาพการแสดงออกบุคลิกภาพตนเองเป็นสิ่งที่มี ความหมายและสำคัญ 4. เกิดแข่งขันและต่อสู้ ผู้แข็งแรงและมีความสามารถ สูงย่อมได้รับประโยชน์ 5. บุคคลแสดงออกความคิด สติปัญญาและการกระทำ เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
8
ลักษณะพื้นฐานทั่วไปของลัทธิเสรีนิยม
ปัจเจกบุคคลนิยม (individualism) รัฐธรรมนูญนิยม (constitutionalism) เสรีภาพ (liberty or freedom) ลัทธิเสรีนิยม ฉันทานุมัติ (consent) เหตุผล (reason) ความเสมอภาค (equality) ขันติธรรม (toleration)
9
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
หลักการลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) 1. ปัจเจกบุคคลนิยม Individualism) เป็นแกนกลาง แนวคิดลัทธิเสรีนิยม มนุษย์ฐานะปัจเจกบุคคลสำคัญที่สุด มากกว่ากลุ่มสังคม หรือองค์กร 2. ลัทธิเสรีนิยม (Liberty or Freedom) เป็นเนื้อหา สาระสำคัญและยังสนับสนุนลักษณะปัจเจกบุคคลนิยม “Freedom Under The Law”
10
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
หลักการลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) 3. เหตุผล (Reason) เป็นความเชื่อว่าโลกมีโครงสร้างที่ มีเหตุผล (Rational Structure) โดยมนุษย์ค้นคว้าความ จริงอย่างวิเคราะห์และวิจารณ์ ความก้าวหน้า (Progress) ทางสังคมเกิดจากการ อภิปรายมากกว่าการต่อสู้ 4. ความเสมอภาค (Equality) ความเชื่อมั่นในความ เสมอภาคของบุคคล มนุษย์เกิดมาเท่าทียมกัน (Born Equal) บุคคลมีความเสมอภาคในสิทธิและโอกาส (Equal Rights and Entitlement)
11
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
หลักการลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) 5. ขันติธรรม (Toleration) เป็นความใจกว้างอดทนต่อ ความคิดเห็นของผู้อื่นที่แตกต่างจากตน สังคมพหุนิยม (Pluralism) หลากหลายมิติ เช่น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม จะเป็นสังคมเข้มแข็ง 6. ฉันทานุมัติ (Consent) อำนาจหน้าที่ (Authority) และแบบแผนความสัมพันธ์ทางสังคม ควรจะต้องได้รับความ เห็นชอบหรือฉันทานุมัติจากสมาชิกสังคม
12
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
หลักการลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) 7. รัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism) รัฐบาลเป็น สิ่งจำเป็นเพื่อผดุงความเป็นระเบียบเรียบร้อย รัฐบาลที่มี อำนาจจำกัดจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมมากกว่ารัฐบาลทีมี อำนาจไม่จำกัด รัฐบาลต้องตรวจสอบและคานอำนาจกัน (Checks and Balances) กลไกการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ ต้องบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
13
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) Demos = ประชาชน Kratein = อำนาจ “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนหรืออำนาจสูงสุด ในการปกครองประเทศเป็นของประชาชน” ระบอบประชาธิปไตยเริ่มต้นประมาณ 500 ปีก่อน คริสตกาลบริเวณหุบเขากรีก ชายฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียน ที่เป็นนครรัฐกรีก
14
ระบอบประชาธิปไตยโดยตรง (Direct Democracy)
ระยะแรก : ระบอบประชาธิปไตยโดยตรง (Direct Democracy) - พลเมืองชายทุกคนที่บรรลุนิติภาวะ (20 ปี) - สามารถจับอาวุธป้องกันประเทศได้ มีสิทธิเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยเข้าร่วมเป็นสมาชิก สภาประชาชนที่มีหน้าที่เป็นสถาบันสูงสุดในการแสดงเจตน์ จำนงของรัฐ
15
“อำนาจสูงสุดในการกำหนดการปกครองอยู่ที่ประชาชน”
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) ระยะปัจจุบัน : ระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทน (Representative Democracy) จำนวนประชากรของแต่ละรัฐหรือแต่ละประเทศมีเพิ่มขึ้น อาศัยการให้สิทธิของพลเมืองเป็นผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ผู้แทนราษฎรทำหน้าที่แทนตัวในรัฐสภา เจตจำนงของ รัฐสภาถือว่าเป็นความต้องการประชาชน อำนาจการปกครอง “อำนาจสูงสุดในการกำหนดการปกครองอยู่ที่ประชาชน”
16
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy)
อุดมการณ์สำคัญ "การยอมรับนับถือความสำคัญและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์ของบุคคลด้วยความเสมอภาคและสิทธิ/เสรีภาพ" สิทธิ/เสรีภาพ สิทธิ : เป็นอำนาจอันชอบธรรมหรือความสามารถที่ จะกระทำการได้โดยชอบธรรมสิทธิของบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลเป็นสิ่งที่ได้รับการยอมรับโดยตามธรรมเนียมประเพณี/ กฎหมาย
17
เสรีภาพ : เป็นความมีอิสระในการกระทำการใดๆ ได้
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) เสรีภาพ : เป็นความมีอิสระในการกระทำการใดๆ ได้ ตามความปรารถนา แต่การกระทำนั้นต้องไม่ละเมิดกฎหมาย หรือละเมิดสิทธิของบุคคลอื่น ความเสมอภาค หลักการสำคัญอุดมการณ์ประชาธิปไตย “คนทุกคน มีความเท่าเทียมกันเป็นส่วนหนึ่งของรัฐเหมือนกัน” 1. ความเสมอภาคทางการเมือง 2. ความเสมอภาคต่อการปฏิบัติของกฎหมาย 3. ความเสมอภาคในโอกาสสังคม 4. ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ 5. ความเสมอภาคทางสังคม
18
1. ความเสมอภาคทางการเมือง บุคคลทุกคนมีสิทธิ
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) ความเสมอภาค 1. ความเสมอภาคทางการเมือง บุคคลทุกคนมีสิทธิ ที่จะเข้าร่วมในกิจกรรมการเมืองเท่าๆ กัน 2. ความเสมอภาคต่อการได้รับปฏิบัติของกฎหมาย ทุกคนต้องได้รับการปฏิบัติด้วยกฎหมายอย่างเสมอภาคกัน โดยได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายโดยเท่าเทียมกัน 3. ความเสมอภาคในโอกาส สังคมต้องเปิดโอกาส ให้ทุกคนทัดเทียมกันทั้งการใช้ความสามารถ แสวงหาความ เจริญก้าวหน้า เลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งโอกาสการรับบริการตามสิทธิตนเอง
19
4. ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ สภาพของทุกคนมี
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) ความเสมอภาค 4. ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ สภาพของทุกคนมี วามใกล้เคียงกันในฐานะทางเศรษฐกิจที่มีการกระจาย รายได้ (Income Distribution) และการได้รับผลประโยชน์ สาธารณะ (Public Interest) อย่างเป็นธรรมเพื่อมิให้ ช่องว่างระหว่างชนชั้น 5. ความเสมอภาคทางสังคม คนทุกคนจะต้องได้รับ การเคารพว่า ความเป็นคนอย่างมีศักดิ์ศรีเท่าเทียมกันใน ฐานะเกิดมนุษย์ร่วมโลกเดียวกันสิทธิ/เสรีภาพ
20
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy)
ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย - ระบอบประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี (Presidential Democracy) - ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (Parliamentary Democracy)
21
รัฐบาล ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy)
ลักษณะของรัฐบาลระบอบประชาธิปไตย "รัฐบาล ประชาธิปไตย คือ รัฐบาลของประชาชน โดยประชาชนและ เพื่อประชาชน" รัฐบาลของประชาชน ประชาชนอยู่ในฐานะเป็นเจ้าของรัฐบาลมีส่วนร่วมใน การกำหนดผู้ที่เป็นผู้ปกครอง และสามารถเปลี่ยนแปลงจะ ผู้ปกครองหากผู้ปกครองไม่ได้บริหารเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชนโดยส่วนรวม
22
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy)
รัฐบาลโดยประชาชน ประชาชน/พลเมืองทุกคนมีสิทธิที่จะเป็นผู้ปกครอง หากได้รับเสียงสนับสนุนจากประชาชนส่วนใหญ่ โดยที่มี การเปิดโอกาสให้คนทุกคนเท่าเทียมกัน รัฐบาลเพื่อประชาชน รัฐบาล/คณะบุคคลที่ปกครองประเทศต้องมีประสงค์ เพื่อความผาสุกของปวงชนและพยายามบริหารสังคมให้ ดำเนินไปตามวิถีที่กำหนดไว้เพื่อบรรลุถึงจุดหมายนั้น
23
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
หลักการลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) 1. อำนาจของประชาชน (Popular Sovereignty) เป็น อำนาจสูงสุดและเด็ดขาดเป็นของประชาชน 2. สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาพของปัจเจกชน (Individuals Right Liberty and Equality) เป็นการให้ ความสำคัญและยังสนับสนุนลักษณะเสรีนิยม
24
3. ฉันทานุมัติ (Consent) การได้รับความยินยอมจาก
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ หลักการลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) 3. ฉันทานุมัติ (Consent) การได้รับความยินยอมจาก ประชาชน 4. การเป็นตัวแทน (Representation) ทั้งการเป็น ตัวแทนตัดสินใจ การนำสาสน์ เป็นผู้ปฎิบัติภารกิจแทน ประชาชนและเป็นกลุ่มในสังคมโดยรวม
25
ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ
หลักการลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) 5. การปกครองเสียงส่วนใหญ่ (Majority Rule) เป็น การปฏิบัติตามความต้องการของเสียงส่วนใหญ่ 6. รัฐบาลเปิดเผยและตรวจสอบได้ (Open and Accountable) ให้ข้อมูลหรือการเข้าถึงข้อมูลสะดวก โดย การตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ 7. สาธารณะประโยชน์ (Public Interests) ในการ ปกครองเพื่อประชาชนจะเกี่ยวกับผลประโยชน์ส่วนรวมที่ ประชาชนส่วนรวมควรได้รับ
26
โดยเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในฉบับเดียว ทั่วไป
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ (Constitution) เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐ โดยเป็นกฎหมายแม่บทของกฎหมายทั้งหมด 1. รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร (Written Constitution) โดยเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในฉบับเดียว ทั่วไป รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรจะขึ้นต้นด้วยวัตถุประสงค์ของ รัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับการกินดีอยู่ดีของประชาชน ความ ยุติธรรม ความสงบและความเจริญก้าวหน้าของรัฐ เป็นต้น
27
รัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร/รัฐธรรมนูญ
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) 2. รัฐธรรมนูญไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Unwritten Constitution) รัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร/รัฐธรรมนูญ จารีตประเพณี สหราชอาณาจักรอังกฤษประเทศเดียวที่มี รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี เป็นรัฐธรรมนูญที่ไม่ได้รวมเขียนไว้ในฉบับเดียว แต่ อาศัยขนบธรรมเนียมประเพณีและวิธีการที่ปฏิบัติสืบต่อกัน มารวมกันเข้าเป็นบทบัญญัติที่มีอำนาจเป็นกฎหมายสูงสุด กำหนดเป็นรูปของการปกครองรัฐ
28
รัฐเดี่ยวมีลักษณะเป็นรัฐที่มีระบบรัฐบาลเดี่ยวคือ ฝ่าย
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) 3. รัฐธรรมนูญรัฐเดี่ยวและรัฐธรรมนูญรัฐรวม (Unitary Constitution and Federal Constitution) รัฐเดี่ยวมีลักษณะเป็นรัฐที่มีระบบรัฐบาลเดี่ยวคือ ฝ่าย บริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการนั้นอยู่ที่รัฐบาลกลาง โดยแบ่งอำนาจแยกออกตามส่วนภูมิภาค กฎหมายที่ใช้จะ บัญญัติจากฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารส่วนกลาง จะมีผลบังคับใช้เท่ากันในทุกๆ พื้นที่ รัฐเดี่ยวย่อมมี อำนาจมาจากส่วนกลางและกระจายออกสู่ส่วนภูมิภาค เช่น ประเทศไทย ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เป็นต้น
29
รัฐรวม เป็นระบบรัฐบาลซ้อนกัน 2 องค์กร คือ ฝ่าย
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) 3. รัฐธรรมนูญรัฐเดี่ยวและรัฐธรรมนูญรัฐรวม (Unitary Constitution and Federal Constitution) รัฐรวม เป็นระบบรัฐบาลซ้อนกัน 2 องค์กร คือ ฝ่าย บริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายตุลาการของรัฐบาลกลางและ รัฐส่วนท้องถิ่นมีความเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อกัน รัฐบาลกลางมีอำนาจเท่าที่รัฐบาลท้องถิ่นกำหนดให้ รูปแบบการปกครองแบ่งอำนาจระหว่างท้องถิ่นต่างๆ ของรัฐ ให้มีอำนาจออกกฎหมายบังคับในเขตปกครองของตน เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย สวิสเซอร์แลนด์ เป็นต้น รัฐธรรมนูญของรัฐรวมมักมี 2 รัฐธรรมนูญ ได้แก่ รัฐธรรมนูญ ของรัฐบาลกลางกับรัฐธรรมนูญของรัฐท้องถิ่น
30
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy)
4. รัฐธรรมนูญสาธารณ/รัฐธรรมนูญกษัตริย์ (Republican Constitution and Monarchical Constitution) อาศัยประมุขของรัฐเป็นหลักการจำแนกประเภทของ รัฐธรรมนูญ รัฐที่มีบัญญัติให้ประมุขเป็นประธานาธิบดี รัฐธรรมนูญ ที่ใช้ก็เป็นรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐ รัฐธรรมนูญประเทศที่มีประมุขของรัฐเป็นกษัตริย์หรือ ราชินี รัฐธรรมนูญฉบับนั้นก็เป็นรัฐธรรมนูญกษัตริย์
31
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy)
ที่มาของรัฐธรรมนูญ 1. การเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป (Gradual Evolution) หรือเรียกว่า การวิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญซึ่ง ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงไปอย่างช้าๆ 2. การปฏิวัติ (Revolution) หรือรัฐประหาร (Coup d’etat) โดยการปฏิวัติ (Revolution) คือ การเปลี่ยนแปลง อย่างถอนรากถอนโคนขนาดใหญ่และรวดเร็ว โดยที่มีการ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหมด การปฏิวัติเป็นการล้มล้างรัฐบาล ด้วยการใช้กำลังรุนแรงและประชาชนเป็นผู้กระทำการปฏิวัติ เป็นส่วนรวม
32
ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy)
ที่มาของรัฐธรรมนูญ การรัฐประหาร (Coup d’etat) คือ การยึดอำนาจของ กลุ่มบุคคล เช่น คณะทหาร เป็นต้น การกระทำรัฐประหารเป็น การล้มล้างรัฐบาลที่เพ่งเล็งถึงตัวบุคคลในคณะรัฐบาล 3. การยกร่าง (Deliberate Creation) รัฐธรรมนูญที่ มีกำเนิดมาจากการยกร่างมักเกิดหลังจากรัฐ/ประเทศตั้งใหม่ หลังได้รับเอกราชหลุดพ้นจากสภาพการเป็นอาณานิคมรัฐอื่น 4. กษัตริย์ประทานให้ (Grant) ส่วนใหญ่อยู่ในทวีป เอเชียและยุโรปตามประวัติศาสตร์มักจะมีการปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราช กษัตริย์อยู่เหนือกฎหมาย ต่อมากษัตริย์ อาจต้องการกำหนดขอบเขตแห่งอำนาจตนและวิธีการใช้ อำนาจที่แน่นอน จึงประทานรัฐธรรมนูญแก่ประชาชน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.