งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลาย เรื่อง โคลงชะลอพระพุทธไสยาสย์ นำเสนอ ครู วราภรณ์ ปรีเจริญ จัดทำโดย น.ส.เกศิณี พ่วงใจ ม.๕/๓ เลขที่๒๔ ซีดีรอมชุดนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชาประวัติวรรณคดี (ท.๔๐๒๐๙) โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม

3 คำนำ ซีดีรอมชุดนี้จัดทำขึ้นสำหรับผู้ที่สนใจ หรือผู้ที่ต้องการศึกษา เรื่องราวของวรรณคดีในสมัยอยุธยาปลาย ซีดีรอมชุดนี้ จะทำให้ได้รู้ถึงประวัติผู้แต่ง และเนื้อเรื่องของโคลงชะลอพระ-พุทธไสยาสย์ สามารถให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ และรู้จักภาษาไทยมากขึ้น ณ โอกาสนี้ขอขอบคุณ ครูวราภรณ์ ปรีเจริญที่ให้คำปรึกษาแนะนำ ครูสมาน โตรุ่ง ที่ให้ใช้ห้องคอมพ์ในการทำงานครั้งนีห้องสมุด โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม ที่ให้ค้นคว้าหาข้อมูล เกศิณี พ่วงใจ ผู้จัดทำ

4 คุณครู วราภรณ์ ปรีเจริญ
นำเสนอ คุณครู วราภรณ์ ปรีเจริญ

5 น.ส. เกศิณี พ่วงใจ ชั้นม.๕/๓ เลขที่ ๒๔
ผู้จัดทำ น.ส. เกศิณี พ่วงใจ ชั้นม.๕/๓ เลขที่ ๒๔

6

7 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระนามเดิมว่าฟ้าพร เป็นพระราชโอรสขอสมเด็จพระพุทธเจ้าเสือและเป็นพระอนุชาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ เมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระเสด็จสวรรคตสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ซึ่งดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในขณะนั้นได้ทำศึกกลางเมืองกับเจ้าฟ้าอภัยและเจ้าฟ้าบรเมศ พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ เจ้าฟ้าอภัยและเจ้าฟ้าบรเมศ ถูกสำเร็จโทษ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกรมโกศขึ้นเสวยราชย์ เมื่อ พ.ศ. ๒๒๗๕ เสด็จสวรรคต เมื่อ พ.ศ. ๒๓๐๑ ปรากฏหลักฐานในฉบับสมุดไทย เรื่อง ชะลอ พระพุทธไสยาสย์วัดป่าโมก ซึ่งได้มาจากกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรีว่าสมเด็จพระ เจ้าหัวบรมโกศทรงพระราชนิพนธ์โคลงเรื่องอื่นอีกรวมทั้งหมด ๖ เรื่อง คือ

8 เรื่องชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมก พาลีสอนน้อง ทศรถสอนพระราม ราชสวัสดิ์
ราชาณุวรรตและประดิษฐ์พพระร่วง ราชาณุวรรต แต่งเป็นโคลงสี่สุภาพ ๑๒๘ บท มีเนื้อเรื่องเช่นเดียวกับราชสวัสดิ์ ประดิษฐ์พระร่วง แต่งเป็นโคลงสี่สุภาพ ๕๕บทมี เนื้อเรื่องคล้ายสุภาษิตพระร่วง

9 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงพระราชนิพนธ์โคลงเรื่องนี้ขณะดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราชในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่ท้ายสระ ซึ่งเป็นพระเชษฐา มูลเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์มีว่า ตลิ่งหน้าพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดป่าโมก เมืองอ่างทอง ถูกน้ำกัดเซาะพังเข้าไปมาก พระอธิการเจ้าอาวาสร้องเรียนมา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระมีรับสั่งให้พระราชสงครามเป็นแม่กองรวบรวมประชาชนผู้มีศรัทธา ช่วยกันชะลอเคลื่อนย้ายพระพุทธรูป สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

10 ซึ่งเป็นพระมหาอุปราชทรงคัดค้านเกรงพระพุทธรูปจะชำรุด แต่พระราชสงครามกราบทูลยืนยันจะชะลอให้ได้ และขอถวายชีวิตถ้าองค์พระเป็นอันตราย

11 แต่งด้วยโคลงสี่สุภาพ
๖๙ บท

12 เพื่อบันทึกเหตุการณ์มหัศจรรย์ ที่สามารถชะลอพระพุทธรูปองค์มหึมาได้โดยไม่เป็นอันตรายและเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ

13 เริ่มต้นกล่าวถึงน้ำกัดเซาะเขื่อนด้านตะวันตกของพระพุทธไสยาสน์ ถึงแม้ทางวัดจะจัด การแก้ไขก็ไม่ได้ผล พระอธิการจึงถวายพระพรรายงานมายังพระเจ้าแผ่นดิน มีพระโองการให้พระราชสงครามจัดการชะลอพระให้พ้นน้ำ พระราชสงครามตะเฆ่รององค์พระแล้วกราบบังคมทูลพระเจ้าแผ่นดิน และป่าวร้องให้ข้าราชการและประชาชนช่วยกันชะลอพระไปยังที่ประดิษฐานใหม่ได้ปลอดภัย จากนั้นกล่าวถึงการสร้างพระ- วิหาร ศาลาการเปรียญ พระอุโบสถ พระเจดีย์ เสนาะสงฆ์ ตอนสุดท้ายอัญเชิญพระพระพุทธรูปปางต่างๆ ให้ทรงอภิบาลพระเจ้าแผ่นดิน

14 ขอพรพระพุทธรูปปางห้ามสมุทร
ขอพรพระพุทธห้าม สมุทไทย ห้ามชลาไลไหล ขาดค้าง ขอองค์ภูวไชย ทุกทวีป ห้ามหายมลายโทษล้าง นอกเนื้อในขันธ

15

16 บรรณานุกรม หนังสือสมบูรณ์แบบ ท ๐๓๑ การเรียนประวัติวรรณคดี ๑

17 -คุณครู สมาน โตรุ่ง ที่ให้คำแนะนำในการทำงานในครั้งนี้เพื่อทำให้งานสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
-ห้องสมุดโรงเรียนบางบ่อวิทยาคมที่ให้ความรู้และข้อมูล -คุณครู วราภรณ์ ปรีเจริญที่คอยให้คำแนะนำ และให้คำที่ปรึกษา

18


ดาวน์โหลด ppt โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google