งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อนุสัญญาไซเตส โชคชัย บุตรครุธ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อนุสัญญาไซเตส โชคชัย บุตรครุธ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อนุสัญญาไซเตส โชคชัย บุตรครุธ

2 6. อนุสัญญาไซเตส อนุสัญญาไซเตส (CITES) หรืออนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชที่ใกล้จะสูญพันธุ์ เป็นผลจากการประชุมนานาชาติที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี สหรัฐอเมริกา

3 6. อนุสัญญาไซเตส 6.1 วัตถุประสงค์ของอนุสัญญาไซเตส คือ ควบคุมการค้าระหว่างประเทศเกี่ยวกับสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ เพื่อป้องกันมิให้มีการนำสัตว์ป่าหรือพืชป่ามาใช้ประโยชน์ในทางการค้าจนเป็นเหตุให้สูญพันธุ์ไปจากโลกได้

4 6. อนุสัญญาไซเตส 6.2 มาตรการดำเนินการ เช่น ออกใบอนุญาตในการนำเข้าและส่งออก หรือจัดทำบัญชีรายชื่อชนิดของสัตว์ป่าหรือพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ เพื่อห้ามส่งออกหรือนำเข้าระหว่างประเทศ เป็นต้น 6.3 ประเทศที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฯ มี 150 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย)

5 7. อนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล
อนุสัญญาเวียนนา(Vienna Convention) และพิธีสารมอนทรีออล(Montreal Protocol) เกิดจากการประชุมนานาชาติที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรเลีย ในปี พ.ศ และการประชุมที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา ในปี พ.ศ โดยสหประชาชาติเป็นผู้ดำเนินการ

6 7. อนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล
7.1 วัตถุประสงค์ เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อแก้ไขปัญหาชั้นโอโซนของโลกถูกทำลาย ซึ่งเกิดจากการใช้สารทำลายชั้นโอโซนในวงการอุตสาหกรรม เช่นสาร CFC สารฮาลอน(Halon) และสารเมทิลโบรไมด์ เป็นต้น  7.2 ประทศที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฯ มี 176 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย)

7 8. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) เกิดจากสหประชาชาติได้จัดให้มีการประชุมเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ณ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล

8 8. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
8.1 วัตถุประสงค์ เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศ เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการกระทำของมนุษย์ มิให้มากจนถึงระดับที่เกิดอันตรายต่อชั้นบรรยากาศของโลก 8.2 ประเทศที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฯ มี 184 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย)

9 9. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (BDC) เป็นผลการประชุมว่าด้วยเรื่องสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ซึ่งสหประชาชาติเป็นผู้จัดดำเนินการ ณ กรุงริโอ เดอจาเนโร ประเทศบราซิล เมื่อ พ.ศ. 2535

10 9. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
9.1 วัตถุประสงค์ เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศ เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน และการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากพันธุกรรม

11 9. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
9.2 ประเทศที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฯนี้ มี 178 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย) 9.3 การดำเนินงานขอประเทศไทยตามอนุสัญญาฯ ได้แก่ จัดทำนโยบายอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน จัดตั้งและอนุรักษ์เขตอุทยานแห่งชาติ และโครงการพัฒนาป่าชุมชน เป็นต้น

12 10. อนุสัญญาบาเซิล หรืออนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน
10.1 ความเป็นมา อนุสัญญาบาเซิล (Basel Convention) เกิดจากความคิดริเริ่มของสหประชาชาติที่จะแก้ไขปัญหาการถ่ายเทกากของเสียอันตรายจากประเทสอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้วไปสู่ประเทศที่กำลังพัฒนา ประเทศสมาชิกร่วมลงนามรับหลักการในการประชุมที่เมืองบาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2532

13 10. อนุสัญญาบาเซิล หรืออนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน
10.2 วัตถุประสงค์ เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อควบคุมการขนส่งสารเคมีอันตรายข้ามพรมแดน และควบคุมการกำจัดกากของเสียอันตรายโดยผลักดันจากประเทศอื่น ๆ อย่างผิดกฎหมาย เพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

14 ทั้งนี้ หากมีการขนส่งโดยผิดกฎหมาย โดยแจ้งความเท็จ หรือปกปิด ซ่อนเร้น หรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตามสัญญา จะต้องนำกลับหรือถูกส่งกลับไปยังประเทศผู้ส่งออก หรือถ้าหากมีอุบัติภัยเกิดจากการรั่วไหลจากกากของเสีย อันตรายดังกล่าวจนเกิดผลเสียหายต่อสภาพแวดล้อม ผู้กระทำผิด (ภาคเอกชน) จะต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ประเทศนั้น ๆ


ดาวน์โหลด ppt อนุสัญญาไซเตส โชคชัย บุตรครุธ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google