งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ
ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ ดร.เกษมสันติ์ สุวรรณรัต ประธานThai Flood Forum สวสท B.Eng.(civil, Hydraulics), Chulalongkorn, 1966 M.Sc.(Public Health Engineering), Newcastle upon Tyne (U.K.), 1968 Dr.-Ing T.H. Darmstadt, (Germany), 1979 ประธานกรรมการองค์การจัดการน้ำเสีย

2 ปัญหาน้ำเสียน้ำเน่า อากาศมีออกซิเจน 280มกต่อลิตร
อากาศมีออกซิเจน 280มกต่อลิตร อากาศมีออกซิเจน 8มกต่อลิตร น้ำเสียจากคนมีตัวทำลายออกซิเจน บีโอดี 30,000 มกต่อคนต่อวัน น้ำเสียจากคนมีตัวทำลายออกซิเจน TKN 2,000 มกต่อคนต่อวัน น้ำเสียจากคนมีปุ๋ยผักตบ P 1,000 มกต่อคนต่อวัน

3 น้ำไหลเร็ว น้ำตื้น ช่วยเติมออกซิเจน หยุดน้ำเน่า
ออกซิเจนเข้า เป็น กรัมต่อตารางเมตรต่อวัน ความเร็ว เป็น เมตรต่อวินาที ความลึก เป็น เมตร

4 เวลาผ่านไป บีโอดี ทำลายออกซิเจน อากาศช่วยเติม
deoxygenation มาจาก บีโอดี 30,000 มกต่อคนต่อวัน และ reaeration มาจากอากาศซึมเข้าผิวน้ำ มกต่อตารางเมตรต่อวัน คือ  คือการขาดออกซิเจนในตอนเริ่มต้น ลดลงเรื่อยๆเพราะ บีโอดี  พอเวลาที่ผ่านไป reaeration มาจากอากาศซึมเข้าผิวน้ำ จนมากกว่า บีโอดี DO จะกลับสูงขึ้น สมการสตรีทเต้อ-เฟลป์สเป็นที่รู้จักกันสมการเส้นย้อยของ ออกซิเจน”DO Sag Curve”

5 เครื่องเติมอากาศศูนย์แพทย์พัฒนา พระราม๙

6 เครื่องเติมอากาศใช้เลี้ยงจุลินทรีย์กำจัด บีโอดี

7 เครื่องเติมอากาศลงน้ำ น้ำส่งต่อให้จุลินทรีย์

8 บีโอดีมาก เครื่องเติมอากาศใหญ่ จุลินทรีย์MLSSมากกำจัดได้มากแต่ก็กินออกซิเจนมาก

9 จุลินทรีย์MLSSมากเครื่องเติมอากาศใหญ่เพื่อตี MLSS ให้ลอย ถ้าไม่ลอยก็กินออกซิเจนไม่ได้ MLSS=50+25(E-4)

10 แอเรเต้อร์ น่าใช้จริงจังระยะยาวปั้มลมลงไปเป็นฟองในน้ำก็เติมอากาศได้จริงแต่เครื่องอุปกรณ์มากลงทุนสูงทั้ท่อและถัง

11 เครื่องเติมอากาศชัยพัฒนา

12 ปั้มน้ำลงไปเป็นฟองก็เติมอากาศได้แต่กินไฟ 2เท่าของแอเรเต้อร์ จึงไม่น่าใช้จริงจังระยะยาว

13 ถังบำบัดเลี้ยงจุลินทรีย์MLSSเข้มข้นมากเครื่องเติมอากาศใหญ่เพื่อตี MLSS ให้ลอยกินBODและออกซิเจนมากๆ ในที่จำกัด

14 สรุป การเติมอากาศด้วยระบบแอเรเต้อร์แบบใดๆเป็นการเลี้ยงตะกอนจุลินทรีย์การเลี้ยงตะกอนจุลินทรีย์เป็นการจับมลพิษ บีโอดี N P Sให้เป็นตะกอนMLSS ตะกอนMLSS ประกอบด้วยC50H70N10O20SPเป็นอาหารปลา C50H70N10O20SP เป็นตะกอนตกลงก้นบ่อสะสมเป็นดินโคลน


ดาวน์โหลด ppt ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google