งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตัดสินใจ โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นกับงานชลประทาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตัดสินใจ โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นกับงานชลประทาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตัดสินใจ โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นกับงานชลประทาน
ชัยฤกษ์ ชัยสวัสดิ์ หัวหน้ากลุ่มงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ

2 ในงานชลประทานมีการตัดสินใจที่สำคัญในหลายๆ เรื่อง ดังนั้นการที่มีวิธีหรือกระบวนการที่จะช่วยให้การตัดสินใจได้ดียิ่งขึ้นย่อมจะเป็นประโยชน์ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

3 Analytic Hierarchy Process , AHP คืออะไร ?
กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น ( Analytic Hierarchy Process , AHP ) เป็นวิธีการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ ( Multi – Criteria Decision Making Method )

4 จุดเด่นของ AHP คืออะไร?
เป็นกระบวนการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้กับการตัดสินใจที่มีความยุ่งยากซับซ้อนได้

5 การนำ AHP มาใช้กับงานชลประทาน
การเลือกทางเลือก การจัดลำดับความสำคัญ การตัดสิน เรื่องกฎเกณฑ์ต่างๆ การวางแผน การคาดการณ์ การประเมินผล

6 AHP ต้องใช้อะไรบ้าง? เกณฑ์ ( กำหนดโดยผู้ตัดสินใจ )
การเปรียบเทียบตามเกณฑ์ ( พิจารณาโดยผู้ตัดสินใจ ) ตารางระดับความสำคัญหรือความชอบ

7 รูปแบบของ AHP AHP จะแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็นระดับชั้น คือ เป้าหมาย เกณฑ์ เกณฑ์ย่อย และทางเลือก จากนั้นให้วิเคราะห์เปรียบเทียบเกณฑ์หรือทางเลือกทีละคู่ ตามตารางระดับความสำคัญ หรือความชอบ แล้วก็คำนวณหาน้ำหนักความสำคัญ หรือลำดับความสำคัญของแต่ละชั้น

8 ขั้นตอนการดำเนินการ AHP
1. การจัดลำดับชั้นในการวิเคราะห์ ( Structuring the Hierachy ) จัดทำเป็นแผนภูมิระดับชั้น ระดับชั้นบนสุด คือเป้าหมาย หรือปัญหาที่ต้องการตัดสินใจ ( Goal ) ระดับชั้นที่ 2 คือเกณฑ์หลัก ( Criteria ) ระดับชั้นที่ 3 คือเกณฑ์ย่อย ( Subcriteria )(ถ้ามี) ระดับชั้นสุดท้าย คือ ทางเลือก ( Alternative )

9 เป้าหมาย เกณฑ์ เกณฑ์ย่อย ทางเลือก

10 2 การคำนวณหาลำดับความสำคัญ
( Calculation of Relative Priority ) ในแต่ระดับชั้นให้พิจารณาเปรียบเทียบความสำคัญของเกณฑ์ต่างๆในระดับชั้นเดียวกัน โดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบเกณฑ์ หรือทางเลือกทีละคู่ ( Pairwise Comparison ) ตามตารางระดับความสำคัญ หรือความชอบ ( Standard Preferrence Table ) แล้วก็คำนวณหาน้ำหนักความสำคัญ หรือลำดับความสำคัญของแต่ละชั้น

11

12 1 = Equally 3 = Moderate 5 = Strong 7 = Very Strong 9 = Extreme 2 , 4 , 6 , 8 ใช้เมื่อมีความแตกต่างกันบ้างในระหว่างช่วงระดับต่างๆ

13 ตัวอย่างการเปรียบเทียบความสำคัญ
การเลือกซื้อสินค้า โดยใช้เกณฑ์ด้านคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ A มีคุณภาพสูงกว่าผลิตภัณฑ์ B โดยให้ A มีค่าระดับเปรียบเทียบมากกว่า (Very Strongly Preferred) ของ B หรือแสดงเป็นตัวเลขเท่ากับ 7 เมื่อเปรียบเทียบกลับกันผลิตภัณฑ์ B ก็จะมีคุณภาพเป็น 1/7 ของผลิตภัณฑ์ A หมายเหตุ ทางเลือกเดียวกันเมื่อเปรียบเทียบแนวตั้งและแนวนอนจะแสดงตัวเลขเท่ากับ 1

14 การตัดสินใจเลือกซื้อบ้าน
ราคา ทำเล ลักษณะบ้าน บ้าน B C การเลือกซื้อบ้าน A

15

16

17

18 จะเห็นว่าตัวเลขของการจัดลำดับความสำคัญจะออกมาเป้นตัวเลขที่ได้จากการคำนวณไม่ได้จากการนึกขึ้นมาลอย เช่น 60, 30 ,10 แต่เป็น 62 , 29, 11 เป็นต้น

19 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การตัดสินใจ โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นกับงานชลประทาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google