งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
นายสาธิต มณีผาย ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านออกแบบและคำนวณ) สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม กรมชลประทาน 2552

2 อยากมีบ้านริมน้ำซักหลังต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง ?
ผู้ออกแบบ แบบบ้าน ผู้รับเหมาก่อสร้าง เงินทุน ผู้ดูแลบ้าน สถานที่,ทำเล ฯลฯ

3 แต่ถ้าพูดถึงงานโครงการชลประทาน จะมีขั้นตอนในการดำเนินการ ดังนี้
(Blueprint) งานศึกษาวางโครงการ งานสำรวจ งานออกแบบ งานจัดหาที่ดิน งานก่อสร้าง งานส่งน้ำและบำรุงรักษา

4 การออกแบบโครงการชลประทาน
มีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนของอาคารหัวงานชลประทาน ส่วนของระบบชลประทาน

5 ส่วนของอาคารหัวงานชลประทาน
มีหลายประเภท ได้แก่ หัวงานประเภทอ่างเก็บน้ำ เช่น เขื่อนเก็บกักน้ำ หัวงานประเภทอาคารทดน้ำ เช่น ฝายทดน้ำ หัวงานประเภทสถานีสูบน้ำ

6 เขื่อนเก็บกักน้ำ

7 เขื่อนทดน้ำ

8 ฝายทดน้ำ

9 มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ คลองส่งน้ำ และอาคารประกอบในคลองส่งน้ำ
ส่วนของระบบชลประทาน มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ คลองส่งน้ำ และอาคารประกอบในคลองส่งน้ำ คลองระบายน้ำ และอาคารประกอบในคลองระบายน้ำ คูส่งน้ำ และอาคารประกอบในคูส่งน้ำ

10 ระบบชลประทาน: คลองส่งน้ำระบบคลองเปิด

11 อาคารบังคับน้ำ

12 ระบบคูส่งน้ำ

13 มีส่วนประกอบที่สำคัญ อันได้แก่
การออกแบบหัวงานประเภทอ่างเก็บน้ำ มีส่วนประกอบที่สำคัญ อันได้แก่ เขื่อนเก็บกักน้ำ อาคารทางระบายน้ำล้น อาคารทางระบายน้ำล้นฉุกเฉิน อาคารท่อส่งน้ำ ถนนบำรุงรักษาท้ายเขื่อน ถนนเข้าหัวงาน ถนนทดแทนน้ำท่วม ถนนขึ้นสันเขื่อน ทำนบดินปิดช่องเขาขาด

14 การออกแบบหัวงานเขื่อนเก็บกักน้ำ
แบ่งได้เป็น 5 ประเภท พิจารณาจากวัสดุที่ใช้ทำตัวเขื่อนฯ ได้แก่ เขื่อนดินถม (Earthfill Dam) เขื่อนหินถม (Rockfill Dam) เขื่อนคอนกรีตล้วน (Concrete Gravity Dam) หรือ เขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Dam) เขื่อนคอนกรีตบดอัด (Roller Compacted Concrete Dam) เขื่อนรูปแบบผสม (Combined Dam)

15 มีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้
การออกแบบหัวงานประเภทอาคารทดน้ำ มีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้ เขื่อนทดน้ำ ปตร. หรือ ประตูระบายน้ำ ห้องเครื่องกว้านสำหรับปิดยกบานระบาย ประตูเรือสัญจร สะพานข้ามทางน้ำ

16 มีส่วนที่สำคัญ ดังนี้
การออกแบบระบบชลประทาน มีส่วนที่สำคัญ ดังนี้ คลองส่งน้ำ คลองระบายน้ำ อาคารประกอบในระบบส่งน้ำและระบายน้ำ ได้แก่ ท่อลอด รางเท สะพานน้ำ ฯลฯ สะพานข้ามทางน้ำ

17 เราจะพักกัน 15 นาทีครับ

18 ต้องพิจารณาถึงข้อมูลที่สำคัญ ดังนี้
การออกแบบงานชลประทาน ต้องพิจารณาถึงข้อมูลที่สำคัญ ดังนี้ สภาพภูมิอากาศ น้ำฝน น้ำท่า น้ำหลาก สภาพลำน้ำ ร่องน้ำ สภาพการตกตะกอน และการกัดเซาะ ปัญหาอุทกภัย ความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ สภาพพื้นที่โครงการ ที่ตั้ง อาณาเขต และการคมนาคม สภาพภูมิประเทศ

19 ต้องพิจารณาถึงข้อมูลที่สำคัญ (ต่อ) ดังนี้
การออกแบบงานชลประทาน ต้องพิจารณาถึงข้อมูลที่สำคัญ (ต่อ) ดังนี้ สภาพธรณีวิทยาและแหล่งวัสดุ สภาพเศรษฐกิจ และสังคม องค์กรการเกษตร สภาพการเกษตรและการประมง ทรัพยากรดินและการใช้ดิน ความต้องการใช้น้ำ ระบบชลประทาน การท่องเที่ยวและการพักผ่อนหย่อนใจ

20 ความเป็นมาของการออกแบบโครงการชลประทาน
- มีการร้องขอราษฎรในท้องถิ่นต้องการแหล่งน้ำใน การทำไร่ทำนา - ต้องการเป็นแหล่งน้ำกินน้ำใช้ - เกิดปัญหาเรื่องน้ำท่วมซ้ำซาก - เกิดปัญหาฝนแล้งซ้ำซาก

21 การสำรวจสภาพพื้นที่โครงการเพื่อการออกแบบ
ที่ตั้ง อาณาเขต และการคมนาคม เช่น ตั้งอยู่ที่เส้นรุ้ง...องศาเหนือ เส้นแวง...... องศาตะวันออก อยู่ในเขตหมู่ที่.... ตำบล...... อำเภอ......จังหวัด อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับ...ทิศใต้..ทิศตะวันออก... ทิศตะวันตก....ติดต่อกับ การคมนาคม จาก กทม.ได้โดยทาง ระยะทาง.....กม.

22 วัตถุประสงค์ของการออกแบบ
นอกจาก.... เป็นแหล่งเก็บกักน้ำไว้ใช้ในการเพาะปลูก อุปโภค บริโภค บรรเทาภัยแล้ง อุทกภัย เป็นแหล่งเพาะเลี้ยงพันธ์ปลา เป็นแหล่งท่องเที่ยว จะต้อง...... อาคารทุกประเภทตั้งอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม และดีที่สุด เกิดผลกระทบด้านต่างๆ น้อยที่สุด การคำนวณออกแบบเรียบง่ายเป็นไปตามข้อกำหนด และกฎหมาย มั่นคง ปลอดภัย และประหยัด ก่อสร้าง และบำรุงรักษาสะดวกเรียบง่าย ใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์

23 1. จัดหาข้อมูลความเป็นมา 2. ข้อมูลวางโครงการ
แนวทางและวิธีดำเนินงานออกแบบ 1. จัดหาข้อมูลความเป็นมา 2. ข้อมูลวางโครงการ 3. ข้อมูลพื้นที่ป่าไม้และสิ่งแวดล้อม 4. ข้อมูลสำรวจภูมิประเทศ 5. ข้อมูลลักษณะทางอุทกวิทยา 6. ข้อมูลสำรวจธรณีฟิสิกข์

24 7. ข้อมูลสำรวจธรณีวิทยาฐานราก 8. ข้อมูลธรณีวิทยาบริเวณอ่างเก็บน้ำ
แนวทางและวิธีดำเนินงานออกแบบ 7. ข้อมูลสำรวจธรณีวิทยาฐานราก 8. ข้อมูลธรณีวิทยาบริเวณอ่างเก็บน้ำ 9. ข้อมูลสำรวจแหล่งยืมดิน 10. ข้อมูลสำรวจแหล่งวัสดุก่อสร้าง 11. ข้อมูลวิเคราะห์และทดสอบดิน และวัสดุก่อสร้าง

25 ขั้นตอนในการดำเนินงานออกแบบ
- ศึกษาทบทวนรายละเอียดโครงการ - วางแนวความคิดในการออกแบบ - จัดทำเกณฑ์กำหนดในการออกแบบ - จัดทำแบบร่าง - จัดทำแผนขอผลสำรวจเพิ่มเติม - ออกแบบเบื้องต้น

26 ขั้นตอนการออกแบบโครงการชลประทาน
ประเภทอ่างเก็บน้ำ จัดทำแผนงานและงบประมาณค่าดำเนินการออกแบบ รวบรวม จัดหา ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลทุกด้าน จัดทำแนวคิดการออกแบบ คำนวณและออกแบบด้านชลศาสตร์ และด้านวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารต่างๆ จัดทำแบบแปลนและขอบเขตโครงการ จัดทำรายงานสรุปโครงการขั้นออกแบบรายละเอียด

27 งานออกแบบต้องทำงานบูรณาการร่วมกัน หลายหน่วยงานในกรมชลประทาน
สำนักแผนงานโครงการ สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ สำนักโครงการขนาดใหญ่ สำนักชลประทาน และโครงการชลประทาน ศูนย์ตรวจสอบความปลอดภัยเขื่อน สำนักงานกิจกรรมพิเศษ

28 สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม
ในนาม สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ยินดีที่ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการจัดอบรม ในครั้งนี้ และขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความสนใจตลอดการบรรยาย สวัสดีครับ

29 Q & A

30 อาคารระบายลงลำน้ำเดิม พื้นที่รับประโยชน์
รายละเอียดโครงการ ลักษณะทั่วไป อ่างเก็บน้ำ เขื่อน อาคารระบายน้ำล้น อาคารผันน้ำ อาคารระบายลงลำน้ำเดิม พื้นที่รับประโยชน์

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40 เขื่อนเก็บกักน้ำ

41 ชลประทานงานเพื่อแผ่นดินไทย


ดาวน์โหลด ppt การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google