ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
2
กระบวนการนโยบาย มี 3 ขั้นตอนหลักๆ
1. การกำหนดนโยบาย (policy making) ประกอบด้วย 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) 1.2 การจัดทำหรือการร่างนโยบาย (policy formulation) 1.3 การตัดสินใจหรือการรับนโยบาย (decision making or policy adoption) 1.4 การทำให้นโยบายชอบด้วยกฎหมาย (legitimation) 2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ (policy implementation) 3. การประเมินผลนโยบาย (policy evaluation)
3
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) - เกิดปัญหา ต้องมี - ปัญหาเชิงนโยบาย หมายถึง - - ความต้องการ (need) - - ความขาดแคลน - - ความไม่พอใจ - ผู้แสวงหาแนวทางแก้ไข - - ผู้ประสบปัญหา - - ตัวแทน - ต้องเป็นปัญหาที่มีความรุนแรง - - ก่อให้เกิดความวิตกกังวล - - ความเครียด - - ความไม่พอใจเพียงพอ - - เป็นปัญหาของสาธารณะมิใช่บุคคล
4
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) 1.1.1 ปัญหาเชิงนโยบาย หมายถึง หัวข้อหรือปัญหาที่มีความสำคัญมากพอที่จะได้รับการแก้ไขโดยรัฐบาล หรือดึงดูดความสนใจผู้กำหนดนโยบาย - ผู้ใดควบคุม - - สามารถกำหนดทิศทางนโยบาย - ปัญหา - - ข้อเสนอแนะหรือประเด็นทางนโยบาย - - มีการแข่งขัน - ปัญหาเชิงนโยบายของสังคมโดยทั่วไป / ปัญหาเชิงนโยบายที่เป็นทางการ - ผู้มีบทบาทกำหนดนโยบาย - - IG - - ผู้นำ / ชนชั้นนำ - - สถาบันของรัฐ
5
การกำหนดนโยบาย (policy making) 1
การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) 1.1.2 การขยายตัวของปัญหาไปสู่ปัญหาเชิงนโยบาย ปัญหาจะถูกนำเป็นปัญหาเชิงนโยบาย 1)ปัญหาสอดคล้องกับกลุ่มที่มีความสำคัญ (กลุ่ม –อำนาจ – สถานภาพ – จำนวน) 2)สอดคล้องกับนโยบายหลักของผู้นำ 3)ประชาชนสนใจ - -สื่อ
6
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.2 การเตรียมเสนอร่างนโยบาย ผู้ที่มีส่วนในการเตรียมร่าง ได้แก่ 1) ผู้กำหนดนโยบายที่เป็นทางการ 2) ที่ปรึกษาทางการเมือง 3) กลุ่มผลประโยชน์
7
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.2 การเตรียมเสนอร่างนโยบาย มีกิจกรรมย่อยๆ ดังนี้ 1) การจัดระเบียบวาระและเปิดให้มีการอภิปราย (input) 2) การสำรวจสถานการณ์ - - นำไปสู่การเลือกแนวทางการจัดทำข้อเสนอนโยบาย - - กำหนดนโยบายขึ้นใหม่ - - หรือปรับปรุงนโยบายเดิม 3) กำหนดทางเลือก - - ตั้งสมมุติฐานจากการเก็บ/วิเคราะห์ข้อมูล - - อุปสรรค ข้อมูลครอบคลุม - - การสนับสนุน / ขัดแย้ง - - สอดคล้องกับพฤติกรรม - - สอดคล้องกับเวลาและสถานการณ์ 4) กำหนดแนวทางการกระทำหรือกิจกรรม
8
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย - ตัดสินใจเลือก/ปฏิเสธทางเลือก - ผู้กำหนดนโยบาย 1) ฝ่ายนิติบัญญัติ 2) ฝ่ายบริหาร
9
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => เกณฑ์การตัดสินใจ (1) ทางเลือกต้องเป็นข้อเสนอที่แก้ไขปัญหาได้ดีที่สุด (2) เป็นไปได้มากที่สุด (3) อยู่ในขอบเขตที่ทำได้
10
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => องค์ประกอบการตัดสินใจ (1) ผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจ (2) เป้าหมาย (3) ทางเลือก (4) สภาวะแวดล้อม
11
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => ทฤษฎีการตัดสินใจ (1) ทฤษฎีการตัดสินใจตามหลักเหตุผล (rational comprehensive decision making) (2) ทฤษฎีการตัดสินใจแบบค่อยเป็นค่อยไป (incremental decision making) (3) ทฤษฎีการตัดสินใจแบบผสมผสาน (mixed scanning)
12
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) =>เกณฑ์การตัดสินใจ (1) ค่านิยม - - ทางการเมือง - - ในองค์การ - - ส่วนบุคคล - - นโยบาย - - อุดมการณ์ (2) ความผูกพันต่อพรรคการเมือง (3) ผลประโยชน์ของผู้เลือกตั้ง (4) มติมหาชน
13
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => รูปแบบของการตัดสินใจ (1) ต่อรอง (2) ชักชวน (3) ออกคำสั่ง
14
1. การกำหนดนโยบาย (policy making)
1.4 การประกาศเป็นนโยบาย ประกาศให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ - - รูปธรรม ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและปฏิบัติตาม ช่องทาง - - แถลงการณ์ - - สื่อ - - สิ่งพิมพ์รัฐบาล
15
THANK YOU BYE BYE
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.