งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดและการดำเนินงาน e-Government

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดและการดำเนินงาน e-Government"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดและการดำเนินงาน e-Government
นายจิรพล ทับทิมหิน ผู้จัดการโครงการ โครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ สำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

2 หัวข้อการนำเสนอ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของไทย
ความหมายและวิสัยทัศน์ ของ e-Government ภาพรวมการดำเนินงาน e-Government ของไทย ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาไอทีภาครัฐ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ “ยุทธศาสตร์การพัฒนา ICT ของไทย”

3 หัวข้อการนำเสนอ (ต่อ)
การดำเนินงานของรัฐบาลเพื่อส่งเสริม การสร้าง e-Government การพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (Thailand e-Government Program)

4 สถานการณ์ด้านการพัฒนา ICT ของประเทศไทย

5 กิจกรรมสำคัญด้านไอทีของไทยที่ผ่านมา
2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 คณะกรรมการ Y2K แห่งชาติ เครือข่ายไทยสาร-III สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ และ GINet Software Park Thailand นโยบาย IT-2000 นโยบาย IT-2010 IT-Year การกำหนดให้มี CIO ภาครัฐ และแผนแม่บท IT เครือข่ายไทยสาร ถึงทุกมหาวิทยาลัย เครือข่ายไทยสาร-II APAN และ Internet2 บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ 5000 รร. SchoolNet Thailand Govt IT Week and Govt IT Awards เครือข่ายกาญจนาภิเษก E-Government e-Thailand/e-ASEAN บริษัท เทรดสยาม จำกัด EU-Asia PMO E-Commerce Resource Center การยกร่างกฎหมาย IT จำนวน 6 ฉบับ ร่าง กม.ธุรกรรมและลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่าน ครม. ร่าง กม.ลำดับรอง ตาม รธน.๗๘ ผ่าน ครม. 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002

6 IT2010 (Knowledge-Based Economy) Promote Innovation Build
Human Capital ระยะเวลา Knowledge- Based Economy Strengthen Information Infrastructure & Industry กรอบนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ: นำประเทศไทยก้าวสู่เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge-Based Economy) พิจารณาและเห็นชอบโดยคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ เมื่อ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๔)

7 กลยุทธ ตามนโยบาย IT2010 มาตรการและแนวทาง eCommerce eIndustry
ยกระดับประสิทธิภาพในการ ผลิตโดยใช้ไอที ขยายฐานการตลาดโดยใช้ไอที ใช้ไอทีเพื่อเพิ่มผลผลิตทาง ด้านการเกษตร เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม ไอทีที่มีศักยภาพ จัดให้มี Thailand Exchange ส่งเสริมการใช้ไอทีใน ภาคการผลิต จัดให้มีข้อมูลทางด้าน การตลาด ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาใน ภาคเอกชน ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรใน ภาคการผลิตให้มีและ แลกเปลี่ยนความรู้ ส่งเสริมอุตสาหกรรมไอที เพื่อลดการนำเข้าและ เพื่อการส่งออก ส่งเสริมการใช้ไอทีใน ภาคการเกษตร จัดทำแผนแม่บท จัดให้มีหน่วยงานติดตาม และสนับสนุน ปรับปรุงระบบงานและการ จัดระบบข้อมูลทั้งในส่วน กลางและองค์กรท้องถิ่น พัฒนาข้าราชการให้มี ทักษะ ปรับกฎหมายและกฎ ระเบียบให้เอื้ออำนวย จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศและส่งเสริมอุตสาหกรรมสารสนเทศของ ไทย สร้างความตระหนักและ ความเชี่อมั่นของประชาชน พัฒนาประสิทธิภาพ ภายในองค์กร (Back Office) พัฒนาระบบบริการ ประชาชน (Front Office) ปรับปรุงระบบบริหาร ราชการเพื่อนำไปสู่ Good Governance ลดความเหลื่อมล้ำของการ เข้าถึงสารสนเทศและความรู้ (Digital Divide) เพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับ ประชาชน (Quality of Life) ส่งเสริมการเรียนรู้ (Learning Society) สร้างโอกาสในการเข้าถึง สารสนเทศและความรู้ ส่งเสริมชุมชนและองค์กร แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาทักษะของประชาชนในการเข้าถึงและใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้ไอทีเพื่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิต สนับสนุนการใช้ไอทีเพื่อวัฒนธรรมและความเอื้ออาทรในสังคม ส่งเสริมการจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เหมาะ สมและสนับสนุนอุตสาหกรรมไอทีของไทย สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุปกรณ์ ที่มีอยู่แล้ว (Value-added) ลดความเหลื่อมล้ำโดยลงทุน อย่างเหมาะสม (Equity) วางแผนก้าวกระโดดในระยะ ยาว(Quantum-jump) ยกระดับครูให้มีทักษะด้าน ไอที (Teachers’ Training) เร่งผลิตฐานความรู้ (Content Development) สร้างเครือข่ายการศึกษาที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี (Networking) สนับสนุนการใช้ไอทีเพื่อยกระดับความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศและส่งเสริม อุตสาหกรรมไอทีของไทย ส่งเสริมการส่งออก ส่งเสริมการค้าบริการ ส่งเสริมการบริโภคจากผู้ประกอบการภายใน ประเทศ กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบการชำระเงินผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ปลอดภัย สร้างความตระหนักแล ะความเข้าใจ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและย่อม สร้างตลาดให้ภาคเอกชนผ่าน e-Procurement ของภาครัฐ พัฒนาบุคลากร จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เหมาะสม และส่งเสริมอุตสาหกรรมไอทีของไทย กลยุทธ ตามนโยบาย IT2010 eCommerce eIndustry eGovernment eSociety eEducation มาตรการและแนวทาง

8 eThailand = new implementation mechanism of ICT Master Plan
eSociety Information Infrastructure eGovernment eCommerce Liberalization eThailand eSociety eEducation eGovernment eCommerce eIndustry IT2010 eThailand version 2.0 แนวทางการดำเนินงานรายสาขา ตามแผน แม่บทด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

9 ICT Development Program for 2001-2006 Source: NITC Meeting presentation June 11, 2001
Economy Society e-Commerce including industry/ services/agriculture/ and tourism e-Education including Environment e-Government Information Development Science and Technology Development Telecommunication Infrastructure Quantity Quality

10 จากนโยบายสู่การปฏิบัติ
IT 2010 Policy Framework ICT Master Plan Implement- tation 2544 2545 มีนาคม

11 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์หลัก แนวทางและยุทธศาสตร์การพัฒนา ICT

12 วิสัยทัศน์ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและการประกอบ ธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้าน ซอฟต์แวร์. ผู้ประกอบการและประชาชนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงข้อมูลจากระบบบริการอย่างทั่วถึงและยุติธรรม, ให้เกิดประโยชน์ โดยตรงต่อการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่การผลิตและ บริการทุกสาขารวมทั้งด้าน ICT เอง, ให้สามารถแข่งขัน และอยู่รอดในตลาดสากลได้, ก่อเกิดสังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้, สามารถประยุกต์ ใช้ เพื่อสนองความ ต้องการในการดำรงอยู่อย่างมีคุณภาพและมีความ ปลอดภัยที่แท้จริงในสังคมไทย

13 พันธกิจ เสริมสร้างความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐและเอกชน สร้างความร่วมมือ
อย่างต่อเนื่อง ให้เป็นเครือข่าย การพัฒนาทั้งระบบข้อมูล และ โครงสร้างพื้นฐาน ตลอดทั้ง ปฏิรูประบบบริหารจัดการด้าน ICT ที่ทันสมัย มีการวางแผน เพื่อสร้างสรรค์งานวิจัย การศึกษาและการ ฝึกอบรม สร้างความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐและ เอกชน พัฒนาทั้งระบบข้อมูล และโครงสร้างพื้นฐาน ปฏิรูประบบบริหารจัด การด้าน ICT วางแผนเพื่อสร้างสรรค์งานวิจัย การศึกษาและ การฝึกอบรม

14 วัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ ICT
ส่ง ออก การยกระดับของประเทศไทย อุตสาหกรรม ICT: ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เครื่องมือช่วยพัฒนาประเทศ เพิ่มขีด ความ สามารถ ของการ แข่งขัน สร้างสังคม คุณภาพ และ เป็นสังคมแห่ง ภูมิปัญญาและ การเรียนรู้ การ พัฒนา ที่ยั่งยืน เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และความรู้ เป็น enabling technology ตลาดในประเทศ จะช่วยให้เกิดกำลังในการพัฒนาเทคโนโลยี

15 กลไกของเศรษฐกิจใหม่ Thailand Inc.
สร้างสินค้าไทยที่เป็นที่ยอมรับของคนไทยและทั่วโลก อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Cost reduction Production chain and cluster Value addition/value chain Information accessibility Product differentiation Mass customization Innovation การศึกษาที่ทำให้คนคิดเป็น และมีคุณธรรม การสร้างเนื้อหาข้อมูลและความรู้ การทำให้คนเข้าถึงสารสนเทศได้

16 ความหมายและวิสัยทัศน์ของ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

17 e-Government Definition (World Bank)
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสาร (Information and Communications Technologies : ICT) ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพ ความสัมฤทธิผล ความโปร่งใส และความน่าเชื่อถือของรัฐบาล

18 e-Government Definition (UN)
ความผูกมัดตลอดไปของรัฐบาลใน การปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและภาครัฐ โดยการยกระดับการสร้างความคุ้มค่า และการสร้างประสิทธิภาพในเรื่องการให้บริการข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ สิ่งนี้เป็นข้อตระหนักว่าเป็นวิธีปฏิบัติที่ดี ที่สุดที่รัฐบาลพึงดำเนินการให้กับประชาชน

19 e-Government Definition (โครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์)
วิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพของการดำเนินงานของภาครัฐ ปรับปรุงการบริการแก่ประชาชน ให้บริการด้านข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อส่งเสริม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ให้ประชาชนใกล้ชิดภาครัฐมากขึ้น

20 วิสัยทัศน์ของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
ฯพณฯ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อเข้ารับตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี โดยประกาศให้มีการพัฒนาประเทศไทย เพื่อเข้าสู่การเป็นรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ และได้แสดงวิสัยทัศน์ …….. "อยากให้เห็นรัฐบาลนี้ เรียกว่า e-Government เป็นรัฐบาลที่ใช้ระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ใช้ระบบอินเทอร์เน็ตให้มากที่สุด เพื่อการบริการ ประชาชนได้รวดเร็ว และสะดวกขึ้น” จากรายการ นายก ฯ ทักษิณ พบประชาชน เมื่อ ๑๖ มิ.ย. ๔๔ "ผมฝันไกลถึงกับที่ประเทศไทยจะมีระบบ E-Citizen คือ ประชาชนทุกคนจะมีบัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ (Smart Card) ที่สามารถตรวจสอบประวัติทุกคนได้ ถือว่าเป็นสิ่งสุดยอด จะทำให้สามารถบริหารประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส” จากการประชุมเชิงปฎิบัติการ “ยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” เมื่อ ๔ ก.พ. ๔๕

21 วิสัยทัศน์ของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร (ต่อ)
"ประเทศไทยจะเป็นประเทศแรก ๆ ในโลก ที่จะใช้ระบบ Smart Card กับบัตรประชาชน คือ ผมต้องการจะให้ ประชาชนถือบัตรเดียวแทนที่มีบัตรประชาชน บัตร ข้าราชการ บัตรประกันสุขภาพ 30 บาท หลายบัตร” จากรายการ นายก ฯ ทักษิณ พบประชาชน เมื่อ ๒๓ ก. พ. ๔๕

22 วิสัยทัศน์ นโยบาย ของ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
วิสัยทัศน์ นโยบาย ของ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปฏิรูปการบริหารและบริการภาครัฐ นำไอทีเป็นเครื่องมือ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ใช้คนน้อยลง โปร่งใส ตรวจสอบได้ เครือข่ายสารสนเทศภาครัฐที่เป็นเอกภาพ เกิดความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคธุรกิจ และประชาชน

23 ภาพรวมการดำเนินงาน e-Government ของไทย

24 ผลงานด้าน ICT ในรัฐบาลปัจจุบัน
2544 (ผลงาน) Q1 Q2 Q3 Q4 2545 (เป้าหมาย) เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อโรงเรียนไทย อินเทอร์เน็ตถึงโรงเรียนประถมและมัธยม เครือข่ายเพื่อการวิจัยความเร็วสูง เชื่อมต่อกับ APAN* และ Internet APAN Internet2 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๔ กม.ลำดับรองของรัฐธรรมนูญ ม.๗๘ (พรบ.โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ) ร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล/อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ผ่าน NITC ร่างกฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์แล้วเสร็จ โครงการ e-Government เปิดตัวศูนย์บริการด้านความปลอดภัยของระบบข้อมูล ThaiCERT โครงการเครือข่ายทรัพยากรน้ำแห่งชาติเชื่อมต่อและใช้งานได้จริง 5 หน่วยงาน โครงการผลิตเครื่อง PC ราคาประหยัดสำหรับประเทศไทยออกสู่ท้องตลาด ร่างนโยบายด้านอินเทอร์เน็ตสำหรับประเทศไทยแล้วเสร็จ ร่างนโยบาย IT2010 แล้วเสร็จ/นำเข้ารวมในแผนพัฒนาฯฉบับที่๙ ร่างรายงานเรื่องความต้องการกำลังคนด้านไอทีของไทยแล้วเสร็จ 4,000 โรงเรียน 5,000 โรงเรียน ประกาศใช้เมื่อ 4 ธันวาคม 2544 ร่างผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการกฤษฎีกาแล้ว กำลังเตรียมเสนอเข้า ครม. รายงานการวิจัย เรื่อง โครงสร้างพื้นฐานข้อมูลภาครัฐ (GDI) แผนงานหลัก 1 สค. 44 รวมยอดขายถึง ธค. 44 ได้ 20,000 เครื่อง เตรียมการจัดทำแผนแม่บท ภายใน มีค.45 * APAN = Asia Pacific Advanced Network

25 ผลงานด้าน ICT ในรัฐบาลปัจจุบัน (รัฐ)
2544 (ผลงาน) Q1 Q2 Q3 Q4 2545 (เป้าหมาย) กรมสรรพากร เริ่มรับชำระภาษีมูลค่าเพิ่มทางอินเทอร์เน็ต เริ่มรับ ภงด.๙๑ ทางอินเทอร์เน็ต กรมทะเบียนการค้า บริการตรวจค้นชื่อนิติบุคคลทางอินเทอร์เน็ต บริการจดทะเบียนธุรกิจทางอินเทอร์เน็ต กระทรวงการคลัง โครงสร้างพื้นฐานร่วมสำหรับธนาคารของรัฐ 8 แห่ง โครงการระบบข้อมูลเพื่อการเกษตรแบบบูรณาการ AIN ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระบบบริการจองหุ้นออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต SetTrade ธนาคารแห่งประเทศไทย บริการ BAHTNET2 เพื่อการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ บริการแก่ภาครัฐเพื่อยกเลิกการใช้เช็คของ ธปท.เพื่อส่วนราชการ เริ่มบริการ 10 ส.ค. 2544 เริ่มบริการ 16 ม.ค. 2545 การกำหนดให้ธนาคารกรุงไทย เป็นประตู การชำระเงินกลาง(payment gateway) ของรัฐ กระทรวงเกษตร เนคเทค/สวทช. ธกส. ร่วมในโครงการ เริ่มใช้ครั้งแรกในการจองหุ้น บริษัทอินเทอร์เน็ต ประเทศไทย 2-3 พ.ย. 2544 เริ่มบริการ ธ.ค. 2544

26 e-Government Portal ตัวอย่าง Thaigov.go.th ทำเนียบรัฐบาล
egovernment.or.th คณะ กก. ดำเนินโครงการ e-Gov Thaigov.net สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ egov.thaigov.net โครงการ e-Gov คำตอบ = ecitizen.go.th

27 บริการอื่นของรัฐที่เริ่มเป็นอิเล็กทรอนิกส์
กรมไปรษณีย์โทรเลข - ระบบตรวจสอบค่าตอบแทนวิทยุความถี่  เฉพาะหน่วยงานที่เป็นสมาชิก  - พ. ย. ๔๔ ( สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน - การรายงานธุรกรรมโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ - ก.พ. ๔๔ - ( การสื่อสารแห่งประเทศไทย 1.  ส่งโทรเลขออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต เร็ว ๆ นี้ ( 2.  ชำระค่าบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ , โทรศัพท์เคลื่อนที่ AMPS เริ่ม  พ.ย. ๔๔ การประปานครหลวง ชำระค่าน้ำประปา ผ่านอินเทอร์เน็ต    ร่วมกับ ธนาคารกรุงไทย เริ่ม  มิ.ย. ๔๔ ( กรมศุลกากร บริการคืนอากรผ่านคอมพิวเตอร์ โดยใช้ข้อมูล EDI ๒๑  ม.ค. ๔๕

28 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการพัฒนาไอทีภาครัฐ

29 ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาไอทีภาครัฐ
โครงสร้างพื้นฐานระบบเครือข่าย (Network) ทั่วถึง อุปกรณ์การติดต่อสื่อสาร (Equipment) ราคาถูก ใช้ง่าย ระบบบริหารจัดการสารสนเทศร่วมภาครัฐมีความพร้อม (Government Gateway) กฎหมาย กฏระเบียบ เอื้อ บุคลากรภาครัฐพร้อม ความตระหนัก การยอมรับ และความเชื่อมั่นของประชาชน ภาครัฐได้รับการจัดสรรงบประมาณอย่างเหมาะสม มีองค์กรกลางพัฒนาและดูแลระบบ มีแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการชัดเจน

30 การดำเนินงานของรัฐบาล เพื่อส่งเสริมการสร้าง e-Government

31 โครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ Thailand e-Government

32 e-ASEAN initiative and e-Thailand
e-Society Government IT Services National ID Card Government common information infrastructure Government Certification Authority e-Government Liberalization E-C Facilitation Information Infrastructure

33 ความเป็นมาของโครงการ
กิจกรรมหนึ่งของ e-Thailand เพื่อการพัฒนาประเทศด้วย การใช้ IT ในภาครัฐที่ดี อนุกรรมการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน หน่วยงานของรัฐ มีมติให้ดำเนินโครงการ e-Government เมื่อ ๗ มีนาคม ๒๕๔๔ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ มีอนุมัติในหลักการให้ดำเนินโครงการ e-Government เมื่อ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๔๔ ระยะเวลา ๒ ปี (มีนาคม ๒๕๔๔ – มีนาคม ๒๕๔๖)

34 ขอบเขตและเป้าหมายของโครงการ
ผลักดัน ประสานงาน อำนวยความสะดวก ให้เกิด แผนหลัก แผนปฏิบัติการ และกรอบกลยุทธ์ บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ โครงการตัวอย่างนำ/โครงการนำร่อง มาตรฐาน แนวทาง และคู่มือ ข้อเสนอแนะและแนวทางปฏิบัติในการปรับปรุง องค์กร

35 บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ 4 ทางหลัก
Online Information service: ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ รัฐสภา สำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน ข บริการ ข้อมูล ข่าวสาร Simple Transaction Service: กรมทะเบียนการค้า กรมโรงงานอุตสาหกรรม ร บริการ เชิงรายการ Payment Gateway: กรมสรรพากร ง โอนเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ e-Procurement: สำนักงาน ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ซ จัดซื้อ ทางอิเล็กทรอนิกส์

36 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
สำรวจความต้องการของผู้ใช้บริการ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ต่อการบริการของรัฐ ศึกษา รวบรวมข้อมูลการดำเนินงานของโครงการด้าน ไอทีของหน่วยงานรัฐของประเทศไทยและต่างประเทศ จัดทำ Web Site Version แรก ของโครงการ ( จัดทำเอกสารเผยแพร่โครงการ ฯ

37 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ต่อ)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ต่อ) นำเสนอภาพรวมโครงการในการฝึกอบรม CIO , CEO บรรยายสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง e-Government แก่ภาครัฐ/เอกชน ร่วมประชุมหารือภายใต้ (CSEP) เพื่อพัฒนาความ ร่วมมือระหว่าง NECTEC กับ IDA การนำเสนอ (ร่าง) กรอบกลยุทธ์และปัจจัยสำคัญต่อ ความสำเร็จของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

38 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ต่อ)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ต่อ) จัดทำ (ร่าง) แผนงานหลักและกรอบกลยุทธ์ ประสานการดำเนินงานร่างแผนแม่บท ICT แห่งชาติ ผลักดันแผนปฏิบัติการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ระดับกรม จัดทำ Government Interoperability พัฒนา e-Government Readiness Website ( e-Govt. Website Version 2 พร้อมเครื่องมือประเมินความก้าวหน้า)

39 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ต่อ)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ต่อ) • จัดทำ Project Summary ของ โครงการนำร่อง สำนักงานสถิติแห่งชาติ :- บริการข้อมูลระดับหมู่บ้านเพื่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิต”(e-NSO Phase I) สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร :- บริการข้อมูลด้าน นิติบัญญัติ (e-Parliament Phase I) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน :- การให้บริการ และอำนวยความสะดวกการขอรับการส่งเสริมการลงทุนใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Investment) กรมโรงงานอุตสาหกรรม (e-Industry) สภาพัฒน์ ฯ ( e-Economics) ธนาคารแห่งประเทศไทย (e-Financial) สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (e-Procurement) สำนักงาน ก.พ (e-Services)

40 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ต่อ)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ต่อ) • จัดทำ Project Summary ของ โครงการตัวอย่างนำ กรมการปกครอง (e-Registration) กรมทะเบียนการค้า (e-CommercialRegistration) กรมสรรพากร (e-Revenue)

41 ความสามารถของเว็บไซต์
ระดับ 1 Information ระดับ 2 Interaction ระดับ 3 Transaction ระดับ 4 Network ตัวชี้วัด ความสม่ำเสมอ ของการปรับปรุงข้อมูล ความถูกต้องของลิงค์ มีมาตรฐาน , เผยแพร่ข้อมูล/บริการของ หน่วยงาน การใช้ แบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ (electronic form & CGI) ให้บริการโต้ตอบกับผู้ใช้บริการได้ การใช้ระบบรักษาความปลอดภัยในการรับ-ส่งข้อมูล การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้บริการทำ ธูรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ มีระบบอัตโนมัติเชื่อมต่อระหว่างหน่วยงาน ทำให้เกิดการบริการ ร่วมกัน ความสามารถของเว็บไซต์ การเชื่อม ระบบงาน (Application) ระหว่าง หน่วยงาน

42 การสำรวจฐานข้อมูลการบริการภาครัฐด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ระดับ 1 Information ระดับ 2 Interaction ระดับ 3 Transaction ระดับ 4 Network 24.86 % 48.55 % 23.70 % 0.00 % หมายเหตุ : ไม่รวมหน่วยงานที่ไม่มีเว็บไซต์และติดต่อไม่ได้อีก 2.89 % ระดับการให้บริการผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ จำนวนหน่วยงานในประเทศไทย (จากการสำรวจ)

43 สวัสดี www.egov.thaigov.net
ขอขอบคุณ สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดและการดำเนินงาน e-Government

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google