งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
ภาสกร นันทพานิช

2 การคิดเชิงระบบ ขอบเขต องค์ประกอบ (ระบบย่อย) ลำดับชั้น ความสัมพันธ์

3 ระบบชุมชนเกษตร (Agricultural Community System)
ระบบย่อย กายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจสังคม องค์ประกอบในระบบย่อย ความสัมพันธ์ภายในระบบ

4 การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
การจำแนกแจกแจงองค์ประกอบต่างๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริง ของสิ่งที่เกิดขึ้น เป็นการคิดอย่างละเอียดจากเหตุไปสู่ผล คิดหาทางเลือก ไปจนถึงการวิเคราะห์เปรียบเทียบ เพื่อตัดสินใจเลือกกรณีที่มีความเหมาะสมและคุ้มค่าสูงสุด

5 ตัวอย่างความสัมพันธ์แบบระดับชั้น
นิเวศ การปกครอง/สังคมรอง ประเทศ ลุ่มน้ำ ภาค เขต Zone จังหวัด สังคมพืช อำเภอ สังคมสัตว์ ประเภทของพืช ตำบล ประเภทสัตว์ หมู่บ้าน จุลินทรีย กลุ่ม ครัวเรือน ปัจเจก

6 ขนาด (Size) สี (Color) รูปแบบ (Pattern)

7 วงกลมของออยเลอร์ (Euler’s Circles)
A B ทุก B เป็น A ทุก C เป็น B ทุก C เป็น A C

8 ทุก B เป็น A บาง C เป็น B บาง C เป็น A A B C

9 ทุก B เป็น A ทุก C เป็น A แต่ B & C ไม่เกี่ยวกัน สรุปไม่ได้ว่า B เป็น C ด้วย A B C

10 ความคิดรวม หรือความคิดเอกนัย (Convergent Thinking)
วิธีการคิด ความคิดรวม หรือความคิดเอกนัย (Convergent Thinking) ความคิดกระจาย หรือความคิดอเนกนัย (Divergent Thinking)

11 เครื่องมือช่วยในการคิด
แผนภูมิต้นไม้ (Tree Diagram) แผนภูมิก้างปลา (Fish-Bone Diagram) แผนที่ความคิด (Mind Mapping Diagram)

12 Tree Diagram

13 Fish-Bone Diagram ปัญหา ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น รายละเอียด

14 Mind Mapping Diagram การใช้แผนภูมิแบบนี้จะช่วยให้เกิดอิสระทางความคิดสามารถระดมความคิด จัดหมวดหมู่ความคิดได้อย่างมีประสิทธิผล

15 Mind Mapping Diagram หัวข้อเรื่อง

16 Mind Mapping Diagram หัวข้อเรื่อง ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น

17 Mind Mapping Diagram หัวข้อเรื่อง ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น

18 Mind Mapping Diagram หัวข้อเรื่อง ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น

19

20 การวิเคราะห์ศึกษาและวิเคราะห์ระบบ: ในการทำแผนพัฒนาการเกษตรประจำตำบล
กำหนดขอบเขตของระบบที่จะทำการศึกษา (จะทำให้แบ่งแยกภายในและภายนอกได้) กำหนดระบบย่อยในระบบที่จะศึกษา (กายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจและสังคม) กำหนดองค์ประกอบภายใต้ระบบย่อยที่ศึกษา เช่น กายภาพ (ดิน น้ำ สภาพพื้นที่ ดินประกอบด้วย ชุดดิน เนื้อดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดิน น้ำ ที่มาของน้ำจำนวนแหล่งน้ำ คุณภาพน้ำ ปริมาณ

21 ขอบเขตของระบบ ระบบย่อย 1 ภายใน ระบบย่อย 3 ระบบย่อย 2 ภายนอก

22 ระบบย่อย 1: ลักษณะทางกายภาพของชุมชน
องค์ประกอบ ดิน น้ำ ภูมิประเทศ ฯลฯ

23 ลักษณะทางกายภาพ น้ำ ดิน ชุดดิน เนื้อดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดิน

24 ขอบเขตของระบบ ระบบย่อย 1 ภายใน ระบบย่อย 3 ระบบย่อย 2 ภายนอก

25 ศึกษาปรากฏการณ์โดยการเก็บข้อมูลองค์ประกอบหลัก และองค์ประกอบย่อยภายใต้ระบบย่อยที่ศึกษา (ควรทำแบบมีส่วนร่วม เช่นใช้เทคนิค PRA (Participatory rural appraisal) ) วิเคราะห์ข้อมูล และจัดกลุ่มของปรากฏการณ์ที่ได้จากการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูล (ใช้เทคนิคเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์ เช่น การทำ SWOT Analysis และควรทำแบบมีส่วนร่วม) กำหนดประเด็นการพัฒนา หรือประเด็นการวิจัย


ดาวน์โหลด ppt การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google